21 มิถุนายน 2555
06 มิถุนายน 2555
บทความ "พุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า" โดย พระเทพวิสุทธิกวี (เกษม)
พุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
มี คำแปลกใหม่สำหรับหูคนไทยมาคำหนึ่งในการเฉลิมฉลองครั้งนี้คือคำว่า “พุทธชยันตี” แน่นอนว่าคำนี้เป็นภาษาฮินดี (หรือภาษาอินเดีย) เมื่อจะมีคำถามว่าแล้วทำไมต้องไปเอาภาษาฮินดีมาใช้ในการเฉลิมฉลองครั้งนี้ กับชาวพุทธที่เป็นคนไทย คงตอบได้ด้วยเหตุผลง่าย ๆ ว่า เพราะที่ประเทศอินเดียเขาจัดงานฉลองโอกาสนี้ก่อนเราและเขาใช้คำนี้กันก่อน แล้ว ไทยเราจึงรับมาใช้ให้ตรงกันเพื่อแสดงออกให้โลกรู้ว่าชาวพุทธมีความเป็น เอกภาพ หากเราใช้เฉพาะภาษาไทยเราว่า “ฉลอง ๒๖ พุทธศตวรรษแห่งการตรัสรู้” ก็คงจะได้ แต่เราจะรู้และเข้าใจง่ายเฉพาะคนไทยเรา ไม่ทั่วไปแก่ชาวโลก แต่เมื่อพูดให้เป็นภาษาเดียวกัน ปัญหาเรื่องการทำความเข้าใจแก่ชาวโลกก็คงจะง่ายขึ้นไม่น้อย แต่ก็มาเป็นปัญหาสำหรับชาวพุทธไทยอยู่เหมือนกันเพราะคนไทยออกจะงงว่า “พุทธชยันตี คืออะไรกันแน่”
ผู้เขียนเริ่มคิดถึงงานฉลอง “๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้” เมื่อปลาย ๆ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ คิดเพิ่มหนักแน่นขึ้นพร้อมกับวางแผนจะจะต้องจัดงานฉลองเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ แล้วก็มาเริ่มดำเนินการตั้งแต่ต้นปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ และก็ได้มาทำจริงจังในขั้นเตรียมการตั้งแต่เริ่มต้นปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ นี้ สำหรับคำว่าพุทธชยันตี ซึ่งได้มีการนำมาใช้เป็นทางการในครั้งนี้ ได้มาทราบในที่ประชุมมหาเถรสมาคมเมื่อสมัยประชุมคณะกรรมการมหาเถรสมาคม แต่ครั้งนั้นมี “สัม” นำหน้าออกมาด้วยเป็น “สัมพุทธชยันตี” โดยมีคำอธิบายว่าที่ต้องใช้ “สัม” เข้ามาเพราะเป็นการฉลอง ”การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า” แต่พอเข้าประชุมอีกครั้งหนึ่งก็กลับมาเป็น “พุทธชยันตี” เช่นที่เป็นอยู่บัดนี้
เห็นจะต้องตอบคำถามเสียทีละว่า “พุทธชยันตี” คือคำศัพท์คำหนึ่งเป็นคำศัพท์ภาษาฮินดีหรือภาษาอินเดียปัจจุบัน แต่หากจะถามว่าแล้วคำนี้แปลว่าอะไร ก็ตอบได้ว่า ศัพท์ว่า “พุทธชยันตี” นี้เป็นศัพท์ใหม่ที่ชาวพุทธคิดสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นชื่องานฉลองโอกาสพิเศษ ครบ ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในมหามงคลสมัยที่พระพุทธศาสนายืนยาวมาครบ ๒๕๐๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ ก็มีการฉลองอันยิ่งใหญ่ไปบรรดาชาวพุทธทั่วโลก แต่ใช้คำศัพท์เป็นชื่อเฉพาะงานว่า “พุทธชยันตี” เนื่องจากว่านั่นเป็นการนับพุทธศักราช ซึ่งเริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุ ๘๐ ปี ส่วนการฉลองพุทธชยันตีครั้งนี้ มีความหมายพิเศษระบุเจาะจงถึงปีแห่งการตรัสรู้ ที่ให้เปลี่ยนจากพระฤๅษีสิทธัตถะเป็น “พระสัมมาสัมพุทธเจ้า” เพราะได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ หรือทรงค้นคว้าแสวงหาจนพบสัจธรรม ในการจัดงานฉลองครั้งนี้เราจึงเรียกขานให้ตรงว่า “งานฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีการตรัสรู้”
คำว่า “ชยันตี” แปลความหมายตรง ๆ ว่า “ชัยชนะ” ก็ได้ และว่า “เกิด” ก็ได้ ซึ่งเมื่อแปลว่าชัยชนะ ก็หมายถึง ๑) ได้ชัยชนะเหนือกิเลสและมารทั้งปวง ๒) ได้ชัยชนะเหนือความไม่รู้คืออวิชชาอย่างเด็ดขาด ๓) ได้ชัยชนะที่ทรงใช้ความเพียรพยายามค้นหาคำตอบเรื่องความทุกข์ได้อย่างครบ สมบูรณ์ เมื่อค้นพบก็ถือว่าได้ชัยชนะ แต่คนไทยเราคงจะคุ้นคำนี้ว่า “ชะยันโต” มากกว่า “ชะยันตี” เพราะเราคุ้นเคยกับภาษาบาลีมากกว่าภาษาฮินดี ส่วน ที่แปลว่า “เกิด” ซึ่งมีความหมายตรงกับคำว่า ชนยนฺตี, ชเนตฺตี, อุปฺปาโท, อุปปชฺชนํ, อุปปตฺติ, ซึ่งทุกคำแปลว่าเกิด หรือพุทธภาษิตที่ว่า ปิยโต ชายเต โสโก ความโศกย่อมเกิดจากสิ่งที่รักเป็นต้น แต่เนื่องจากทางประเทศศรีลังกา และอินเดียเขาเริ่มใช้เป็นชื่องานฉลองโอกาสพิเศษแห่งพระพุทธศาสนามาก่อนและ เขานิยมใช้คำว่า “ชะยันตี” เป็นภาษาฮินดี ไทยเราจึงใช้ตามเขาเพื่อแสดงความเป็นเอกภาพและง่ายในการประชาสัมพันธ์ใน ระดับนานาชาติด้วย ในคราวประชุมหมาเถรสมาคมเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคมศกนี้ จึงมีมติเห็นชอบให้ใช้ชื่องานฉลองพระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลกครบ ๒๖๐๐ ปีครั้งนี้ว่า “งานฉลอง พุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า”
คำ ว่า “สัมพุทธะ” หรือ “สัมมาสัมพุทธะ” เกิดมีขึ้นได้ก็ต่อเมื่อพระฤๅษีโพธิสัตว์สิทธัตถะได้ “ตรัสรู้โดยชอบด้วยพระองค์เอง” แล้วเท่านั้น นั่นคือหลังจากที่เจ้าชายสิทธัตถะได้ทอดพระ เนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บป่วย คนตาย ทรงเห็นว่าเป็นปัญหาและทรงสรุปเบื้องต้นเป็นสมมติฐานทางการวิจัยว่าสภาพเช่น นั้น “เป็นความทุกข์” จะต้องมีสิ่งที่แก้กันคือ “ความสุข” ครั้นทรงพบเห็นสมณะก็มีพระดำริว่าน่าจะเป็นทางค้นหาให้พบความสุขได้ จึงตัดสินพระทัยออกทำงานวิจัยค้นหาความสุขเพื่อแก้ความทุกข์ให้ได้ ทรงใช้เวลาทำการวิจัยลองผิดลองถูกมาถึง ๖ ปี จากพระชนมายุ ๒๙ ถึงพระชนมายุ ๓๕ จึงวิจัยสำเร็จสมบูรณ์คือได้รู้ชัดว่า อะไรคือความทุกข์ อะไรคือสาเหตุแห่งความทุกข์ อะไรคือความดับลงอย่างเด็ดขาดแห่งความทุกข์ และอะไรคืออุบายวิธีให้ถึงความดับทุกข์อย่างเด็ดขาด เมื่อได้พบแล้วพระองค์จึงทรงประกาศว่า “เราได้รู้แล้ว” และได้เสนอผลงานวิจัยของพระองค์สู่สาธารณะชนอันมีผลมาถึงปัจจุบัน แต่การรู้ของพระองค์ไม่ใช่รู้เพียงเท่านั้น หากแต่ได้รู้สิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วย รู้ไปถึงเรื่องของจักรวาล พระองค์จึงได้พระนามอีกว่า “พระสัพพัญญู” แปลว่าผู้รู้สิ่งทั้งปวง และว่า “โลกวิทู” ผู้รู้โลกทั้งปวงเป็นต้น เพราะฉะนั้น การฉลองครั้งนี้จึงหมายถึงการฉลอง ๑) ความเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ๒) ฉลองความเกิดขึ้นในโลกของพระพุทธศาสนา ๓) ฉลองความปรากฏขึ้นในโลกของสัจธรรมที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ๔) ฉลองความที่พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลกมาครบ ๒๖๐๐ ปี
อนึ่ง ศัพท์ว่า “สัมมาสัมพุทธะ” ที่แปลว่า “ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ หรือ ผู้ตรัสรู้โดยชอบด้วยพระองค์เอง” หมายความว่าทรงค้นพบสัจธรรมเองโดยการค้นคว้าวิจัยของพระองค์เอง โดยไม่มีอาจารย์สอน บาง ครั้งก็มีผู้สงสัยว่า พระพุทธองค์ตรัสรู้เองโดยไม่มีอาจารย์ได้อย่างไร ในเมื่อที่ผ่านมาก็เข้าไปศึกษาจากอาจารย์มากมาย ข้อนี้ก็เหมือนนักศึกษาที่ศึกษาจบหลักสูตรได้รับปริญญาเป็นบัณฑิต ได้ ความรู้จากอาจารย์มา แต่ความรู้นั้นยังไม่อำนวยให้รู้สิ่งที่ต้องการรู้ได้ ต่อเมื่อจบการศึกษารับปริญญาเป็นบัณฑิตแล้วไปทำงานวิจัยต่อ เป็นนักวิจัยอิสระ ลองผิดลองถูกไปอย่างมุ่งมั่น ในที่สุดก็พบสิ่งที่ต้องการรู้เองด้วยความเป็นนักวิจัยอิสระของตนเอง ข้อนี้ฉันใดพระพุทธเจ้าก็ตรัสรู้เองโดยไม่มีอาจารย์ฉันนั้น
ว่าถึง การวิจัย เราสามารถกล่าวได้ว่าพระพุทธองค์เป็นนักวิจัยคนแรกของโลก ถือว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นพระบิดาแห่งการวิจัย ระบบค้นคว้าแสวงหาความรู้ที่ทรงคิดค้นได้มาเป็นระบบที่สมบูรณ์ และสามารถใช้ประโยชน์ในการทำงานวิจัยค้นคว้าแสวงหาความรู้ได้อย่างดีเยี่ยม แม้กระทั่งปัจจุบัน นั่นคือ ๑) มีขั้นตอนฐานความคิด (การสังเกต) ๒) มีสมมติฐาน (มีความทุกข์ต้องมีความสุข) ๓) มีปัญหาทางการวิจัย (แก่ - เจ็บป่วย – ตาย) ๔) มีการประมวลความรู้เบื้องต้น ((การออกบวช-สำนักอาจารย์ต่าง ๆ) ๔) กระบวนการทดลองภาคสนาม (เข้าไปศึกษา-ทดลองด้วยตนเองในสำนักต่าง ๆ) ๕) การวิเคราะห์ข้อมูล (ประมวลจากความรู้ที่ได้จากการทดลองในสำนักต่าง ๆ) ๖) แสวงหาความรู้ใหม่เมื่อยังตอบโจทย์ (อะไรคือความทุกข์) ยังไม่ได้ ด้วยการลองผิดลองถูกด้วยตนเอง (อดกลั้นลมหายใจ-เอาลิ้นกดเพดาน-อดอาหาร) ๗) เมื่อตอบโจทย์วิจัยได้ว่าอะไรคือความทุกข์เป็นต้น (เกิดสัมโพธิญาณ) จึงมั่นพระทัยประกาศ ยืนยันว่า “เราได้รู้แล้ว” ๘) ทบทวนผลงานตั้งแต่ฐานความคิดถึงบรรลุพระสัมโพธิญาณ (๔๙ วันที่สัตตมหาสถาน) ๙) วางกรอบรูปแบบแนวปฏิบัติเพื่อเข้าถึงสัจจะที่ทรงค้นพบ (สร้างโมเดลแนว/ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ (ไตรสิกขาหรืออริยมรรคมีองค์แปด) ๑๐) เสนอผลการวิจัยสู่สาธารณชน (ประกาศธรรมโดยพิจารณาผู้รับที่เหมาะสม)
องค์ ความรู้ที่ทรงใช้เพื่อการวิจัย ๗ ประการที่ทรงใช้ เป็นแบบมาตรฐานที่สามารถให้ความเที่ยงตรง ไม่ให้ความรู้หรือสิ่งที่ค้นพบคลาดเคลื่อนจากความจริงคือ
๑. ทบทวนวรรณกรรมทั้งปวงที่สามารถทบทวนได้ (สติ ความระลึกรู้)
๒. คัดเลือก คัดสรรแนวที่มีความถูกต้องหรือใกล้เคียงความถูกต้องที่สุด (ธมฺมวิจโย)
๓. สร้างความกล้าหาญ มุ่งมั่น เด็ดเดี่ยวในการตัดสินใจลงมือทำงานวิจัย (วิริโย)
๔. สร้างความพึงพอใจในการได้ลงมือทำงานวิจัยมีความสุขกับการได้ทำสิ่งนั้น (ปีติ)
๕. เตรียมกายเตรียมใจและเวลาให้พร้อมเพื่อความมุ่งมั่นทำงาน (ปสฺสทฺธิ)
๖. มีความหนักแน่น ไม่โลเล ไม่ท้อแท้ ไม่ให้อุปสรรคต่าง ๆ มาทำลายความตั้งใจ มีความมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวไม่พบสิ่งต้องการรู้ไม่หยุดค้นคว้า (สมาธิ)
๗. ทบทวน สังเกต ตรวจสอบ ให้ได้ค่าความเชื่อมั่น (อุเปกฺขา = อุป + อิกฺข) อุเบกขาในที่นี้ไม่ได้แปลว่า “วางเฉย” อุปะ แปลว่า “มั่น” อิกขะ แปลว่า ดู, เห็น, ตรวจสอบ เมื่อรวมเข้ากันเป็นคำเดียวจึงต้องแปลว่า “ตรวจสอบให้มั่นใจ)
ทั้ง ๗ ข้อนี้ ทรงชี้ว่าเป็นองค์ความรู้ (โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ แปลเป็นภาษาวิชาการทั่วไปว่า “องค์แห่งความรู้” อันหมายความว่าเมื่อทำงานวิจัยแสวงหาความรู้ใด ๆ ด้วยการใช้องค์แห่งความรู้ทั้ง ๗ ประการนี้เป็นบรรทัดฐาน ความรู้ที่ได้จากการวิจัยชิ้นนั้น จะเป็นความรู้ที่เที่ยงตรง มีค่าความเชื่อมั่นเต็มร้อย สามารถตอบโจทย์วิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในทุกยุคทุกสมัย เป็นองค์ความรู้ที่ยั่งยืนเป็น “อกาลิโก”
พระพุทธองค์ประสบความ สำเร็จในการวิจัยแล้วได้ทรงอาศัยพระมหากรุณาคุณ มุ่งมั่น ท่องเที่ยวไปเสนอผลงานวิจัยต่อสาธารณชนเป็นเวลา ๔๕ ปีพร้อมกับภาระให้แก่พระสาวกสาวิกาช่วยทำงานเป็นประโยคที่สำคัญว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราได้พ้นแล้วจากบ่วงทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้ท่านทั้งหลายก็เหมือนกัน ท่านทั้งหลายจงเที่ยวไปในชนบท เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชนเป็นอันมาก แต่อย่าไปรวมกัน ๒ รูปโดยทางเดียวกัน จงแสดงธรรมมีคุณงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลางและงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะ อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง สัตว์ทั้งหลายที่มีกิเลสบังปัญญาดุจธุลีในจักษุน้อยเป็นปกติมีอยู่ เพราะโทษที่ไม่ได้ฟังธรรมย่อมเสื่อมจากคุณที่จะพึงได้พึงถึง ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมีอยู่ แม้เราก็จะไปยังตำบลอุรุเวลาเสนานิคมเพื่อจะแสดงธรรม” สรุปสั้น ๆ ว่า “เธอทั้งหลายจงไปแสดงธรรมเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่พหุชน เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก”
สิ่งสำคัญที่พระพุทธองค์ทรงย้ำเน้นไว้ในธัม มจักกัปปวัตนสูตร (พระไตรปิฎกเล่ม ๔) คืออุบายวิธีเข้าถึงความรู้หรือความจริง และตรัสไว้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์เส้นเดียวที่ให้ไปถึงจุดหมายปลายทางได้แน่ นอนคืออริยมรรคมีองค์แปดนั่นเอง และทางนี้ถือว่าเป็นทางที่สร้างไว้สำเร็จสมบูรณ์แล้ว เป็นเส้นทางที่ประกอบด้วย ๑ ยุทธศาสตร์เพื่อความสุขถาวร เส้นทางนี้มี ๘ มาตรฐานการดำเนินงาน และ ๒๖ ดรรชนีชี้วัด ซึ่งได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นที่เรียกว่าถูกต้อง ต้องประกอบด้วย ๔ ดรรชนีชี้วัดได้แก่
๑) ทุกฺเข ญาณํ หยั่งรู้หยั่งเห็นว่าความทุกข์ทั้งปวงที่ทรงแสดงไว้แล้วนั้นมีอยู่จริง
๒) ทุกฺขสมุทเย ญาณํ หยั่งรู้ว่าตัณหาเป็นสาเหตุให้เกิดความทุกข์ทั้งปวงจริง
๓) ทุกฺขนิโรเธ ญาณํ หยั่งรู้หยั่งเห็นว่าเมื่อดับสาเหตุแห่งความทุกข์ทั้งปวงได้ก็เป็นการดับความทุกข์ทั้งปวงได้จริง
๔) ทุกฺขนิโรธคามินิยา ปฏิปทาย ญาณํ หยั่งรู้หยั่งเห็นในปฏิปทาอันให้ถึงความดับลงอย่างเด็ดขาดแห่งความทุกข์ สามารถเป็นไปได้จริง
นี้คือดรรชนีชี้วัด “ความเห็นชอบ” เห็นอย่างอื่นไม่ชื่อว่าเห็นชอบตามข้อว่า สัมมาทิฏฐิ นี้ ข้อนี้ทำให้ได้ความชัดว่าเห็นอย่างไรเรียกว่าเห็นชอบ
มาตรฐานที่ ๒ สมฺมาสงฺกปฺโป ความคิดหรือความดำริที่ถูกต้อง มีดรรชนีชี้วัดความถูกต้อง ๓ อย่างคือ
๑) เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป ความคิดออกจากกาม หรือความคิดออกห่างจากความมัวเมาเพลิดเพลินในกาม อันรวมไปถึงเรื่องบริโภคนิยม (บริโภคทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) มีความรู้จักประมาณ รู้จักพอเพียง
๒) อพฺยาปาทสงฺกปฺโป ความคิดความดำริ ลด ละ เลิก ความอาฆาตพยาบาทผู้อื่น (มีแต่เมตตา ปรารถนาให้ผู้อื่นอยู่เย็นเป็นสุขด้วยกัน)
๓) อวิหิงฺสาสงฺกปฺโป ความคิดคามดำริ ลด ละ เลิก ความเบียดเบียนทำลายล้างชีวิตและทรัพย์สินของกันและกัน (มีความเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน)
มาตรฐานที่ ๓ สัมมาวาจา การกล่าววาจาที่ถูกต้องชอบธรรม มีตัวดรรชนีชี้วัดคำว่า “สัมมา” ๔ ข้อคือ
๑) มุสาวาทา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำพูดเท็จ คำที่ไม่ตรงกับความจริง คลาด เคลื่อนจากความจริง (มี สัจวาจา)
๒) ปิสุณวาจา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำยุยงส่งเสริมให้เกิดความขัดแย้งหรือเกิดแตกแยก หรือทำลายสามัคคี (มี วาจาเสริมสร้างสามัคคี)
๓) ผรุสาวาจา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำพูดหยาบคายเช่นคำด่า คำลบหลู่ดูหมิ่น คำพูดแดกดันกดขี่ (มี ปิยวาจา)
๔) สฺมผปฺปลาปา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำพูดเพ้อเจ้อไร้สาระไร้ประ -โยชน์ ผิดกาลเทศะ (มี อัตถวาจา)
มาตรฐานที่ ๔ สมฺมากมฺมนฺโต การทำงานที่เป็นไปโดยชอบโดยถูกต้อง มีดรรชนีชี้วัดความถูกต้อง ๓ อย่างคือ
๑) ปาณาติปาตา เวรมณี ทำงานด้วยมีเจตนางดเว้นจากการฆ่า การทำลายล้างกัน มีความเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์โลก เคารพในการมีชีวิตอยู่ของกันและกัน
๒) อทินฺนาทานา เวรมณี ทำงานด้วยมีเจตนางดเว้นจากการลักฉ้อ ทุจริตคอรัปชั่น มีสัมมาอาชีพ เคารพรพในสิทธิแห่งการครอบครองทรัพย์สินของกันและกัน
๓) กาเมสุ มิจฺฉาจารา เวรมณี การทำงานที่มีเจตนางดเว้นจากความประพฤติผิดในกามทุกชนิดเช่น ประกอบการค้ากาม ประกอบการบริการกาม ประกอบการบริโภคกาม อันเป็นการทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ต้องยกย่องให้เกียรติศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของกันและกัน เคารพรักษาประเพณีอันดีงามของมนุษย์ด้วยกัน
มาตรฐานที่ ๕ สมฺมาอาชีโว การประกอบอาชีพถูกต้อง สุจริต ชอบธรรม มีดรรชนีชี้วัดเป็นหลักกว้าง ๆ ๒ อย่างคือ
๑) อกุสลานํ ปหานา เจตนาเว้นงานที่ผิดกฎหมาย ผิดจารีตประเพณี ผิดศีลธรรมจรรยา และ งานที่เป็นบาปอกุศล งานที่มีโทษ งานที่อากูล งานที่เป็นทางแห่วงอบายมุข
๒) กุสลานํ อุปสมฺปทา เจตนาทำงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย จารีตประเพณี ถูกต้องตามหลักศีลธรรมจรรยา งานที่ก่อให้เกิดบุญกุศล งานที่ส่งเสริมแนวทางสวรรค์และนิพพาน
มาตรฐานที่ ๖ สมฺมาวายาโม ความเพียรพยายามที่หนักแน่นเป็นประธานในการทำงาน มีดรรชนีชี้วัดตัวความเพียรนี้ ๔ อย่างคือ
๑) สงฺวรปธานํ ความเพียรพยายามป้องกันกิเลสหรือภัยพิบัติต่าง ๆ อย่างรอบคอบไม่ปล่อยให้ภัยพิบัติเกิดก่อนแล้วตามแก้
๒) ปหานปธานํ ความเพียรพยายามกำจัดทำลายกิเลสหรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้นแล้ว มีขึ้นแล้วให้หมดสิ้นไปเสียแต่โดยเร็ว
๓) ภาวนาปธานํ ความเพียรพยายามสร้างคุณความดี สร้างทางเจริญอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดยั้ง ไม่เปิดโอกาสให้ภัยพิบัติได้โอกาสเกิดหรือเติบโต
๔) อนุรกฺขนาปธานํ ความเพียรพยายามรักษาคุณความดี รักษามาตรฐานความดีให้มีความมั่นคงยั่งยืนตราบเท่าที่ยังมีชีวิต
ทั้ง ๔ ข้อนี้ ยังถือได้ว่าเป็นกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาได้ทุกอย่างตั้งแต่ปัญหาเล็ก ๆ จนถึงปัญหาระดับชาติและระดับโลก
มาตรฐานที่ ๗ สัมมาสติ ความมีสตีระลึกชอบ มีตัวดรรชนีชี้วัดความ “ชอบ” ของสติ ๔ ประการคือ
๑) กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบกาย (ระลึกรู้สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ)
๒) เวทนานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบอารมณ์ความรู้สึก สุข ทุกข์ ไม่ทุกข์ไม่สุข
๓) จิตฺตานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบสภาพจิตของตนให้กระจ่างชัด
๔) ธฺมมานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบธรรมในภายในตนให้มีความรู้แจ้งชัดว่ามีอะไร บ้างในตน
มาตรฐานที่ ๘ สัมมาสมาธิ ความตั้งจิตมั่นคง ไม่หวั่นไหวไปตามกระโลกกระแสธรรมใด ๆ มีดรรชนีชี้วัดความมั่นคงหลัก ๆ ๒ ระดับคือ
๑) สมถกมฺมฏฺฐานํ ความสงบหนักแน่นมั่นคงแห่งจิต (สมถะหรือสมาธิ)
๒) วิปสฺสนากมฺมฏฺฐานํ ความรู้แจ้งเข้าใจชัดในสังขารธรรม (วิปัสสนา-ปัญญา)
ว่า กันโดยย่นย่อ หนึ่งเส้นทางยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย แปดมาตรฐานและ ยี่สิบหกดรรชนีชี้วัดของแต่ละมาตรฐาน เมื่อดำเนินการตามกระบวนการครบถ้วน ทุกอย่างก็ย่อมถึงความสำเร็จได้ จะเห็นว่าหลักการและวิธีการเพื่อความเข้าถึงสัจจะของพระพุทธเจ้ามีความ สมบูรณ์ ความทันสมัยอย่างน่าประหลาดใจจริง ๆ
จากวันที่ได้ตรัสรู้มา ถึงวันวิสาขบูชา พุทธศักราช ๒๕๕๕ (ตรงกับวันจันทร์ที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๕) จะครบ ๒๖๐๐ ปี ชาวพุทธทั่วทั้งโลกจึงมีดำริร่วมกันในการมีส่วนร่วมในงานฉลองมหามงคลครั้ง นี้ และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้จัดทำเอกสารนี้ขึ้นเพื่อเป็นการชี้แจงทำ ความเข้าใจและศึกษาเป็นพุทธบูชาอีกส่วนหนึ่งด้วย
พุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
ปี
พุทธศักราช ๒๕๕๕ นี้ นับเป็นปีที่สำคัญต่อพระพุทธศาสนา
และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำคัญต่อปวงชนชาวไทย
ในฐานะที่เป็นผู้ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาไว้เป็นศาสนาประจำจิตประจำใจ
จนเป็นศาสนาประจำชาติ
เนื่องในโอกาสที่พระพุทธศาสนามีอายุมาครบ ๒๖๐๐
ปีนับแต่การตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้บรมศาสดา
ผู้ก่อตั้งพระพุทธศาสนา ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ นี้
พุทธศาสนิกชนทั่วโลกได้มีการเฉลิมฉลองโดยร่วมกันทำสักการบูชาในพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นกันทั่วหน้า
เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณูปการที่พระพุทธองค์ได้ทรงประทานแสงสว่างให้แก่
ชีวิตและโลกด้วยพระมหากรุณาอันหาประมาณมิได้
ปวงชนชาวไทยพุทธเราก็พร้อมจิตพร้อมใจกันทำการฉลองโดยทั่วหน้า เมื่อพุทธ
ศักราช ๒๕๐๐
เราชาวพุทธทั้งโลกได้เคยร่วมกันเฉลิมฉลองกันในทำนองนี้ครั้งหนึ่งแล้ว
ในครั้งนั้นพุทธศาสนิกชนต่างถือเอาคติว่าพระพุทธศาสนามั่นคงอยู่ในโลกนี้ได้
ครบ ๒๕ พุทธศตวรรษ คือครั้งนั้นถือเอาคติว่าพระพุทธศาสนาครบ ๒๕๐๐ ปี
นับแต่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ ๘๐ แต่ครั้งนี้ฉลอง
๒๖๐๐ ปี ในพุทธศักราช ๒๕๕๕
โดยการนับจากวันที่พระพุทธองค์ได้ค้นพบอริยสัจธรรมเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา
เมื่อตรัสรู้แล้วพระพุทธองค์แสดงธรรมโปรดเวไนยสัตว์อยู่อีก ๔๕ ปี เอา ๔๕
บวกกับ ๒๕๕๕ จึงเป็น ๒๖๐๐ ปี เรียกว่า “๒๖ พุทธศตวรรษนับแต่ตรัสรู้”มี คำแปลกใหม่สำหรับหูคนไทยมาคำหนึ่งในการเฉลิมฉลองครั้งนี้คือคำว่า “พุทธชยันตี” แน่นอนว่าคำนี้เป็นภาษาฮินดี (หรือภาษาอินเดีย) เมื่อจะมีคำถามว่าแล้วทำไมต้องไปเอาภาษาฮินดีมาใช้ในการเฉลิมฉลองครั้งนี้ กับชาวพุทธที่เป็นคนไทย คงตอบได้ด้วยเหตุผลง่าย ๆ ว่า เพราะที่ประเทศอินเดียเขาจัดงานฉลองโอกาสนี้ก่อนเราและเขาใช้คำนี้กันก่อน แล้ว ไทยเราจึงรับมาใช้ให้ตรงกันเพื่อแสดงออกให้โลกรู้ว่าชาวพุทธมีความเป็น เอกภาพ หากเราใช้เฉพาะภาษาไทยเราว่า “ฉลอง ๒๖ พุทธศตวรรษแห่งการตรัสรู้” ก็คงจะได้ แต่เราจะรู้และเข้าใจง่ายเฉพาะคนไทยเรา ไม่ทั่วไปแก่ชาวโลก แต่เมื่อพูดให้เป็นภาษาเดียวกัน ปัญหาเรื่องการทำความเข้าใจแก่ชาวโลกก็คงจะง่ายขึ้นไม่น้อย แต่ก็มาเป็นปัญหาสำหรับชาวพุทธไทยอยู่เหมือนกันเพราะคนไทยออกจะงงว่า “พุทธชยันตี คืออะไรกันแน่”
ผู้เขียนเริ่มคิดถึงงานฉลอง “๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้” เมื่อปลาย ๆ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ คิดเพิ่มหนักแน่นขึ้นพร้อมกับวางแผนจะจะต้องจัดงานฉลองเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ แล้วก็มาเริ่มดำเนินการตั้งแต่ต้นปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ และก็ได้มาทำจริงจังในขั้นเตรียมการตั้งแต่เริ่มต้นปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ นี้ สำหรับคำว่าพุทธชยันตี ซึ่งได้มีการนำมาใช้เป็นทางการในครั้งนี้ ได้มาทราบในที่ประชุมมหาเถรสมาคมเมื่อสมัยประชุมคณะกรรมการมหาเถรสมาคม แต่ครั้งนั้นมี “สัม” นำหน้าออกมาด้วยเป็น “สัมพุทธชยันตี” โดยมีคำอธิบายว่าที่ต้องใช้ “สัม” เข้ามาเพราะเป็นการฉลอง ”การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า” แต่พอเข้าประชุมอีกครั้งหนึ่งก็กลับมาเป็น “พุทธชยันตี” เช่นที่เป็นอยู่บัดนี้
เห็นจะต้องตอบคำถามเสียทีละว่า “พุทธชยันตี” คือคำศัพท์คำหนึ่งเป็นคำศัพท์ภาษาฮินดีหรือภาษาอินเดียปัจจุบัน แต่หากจะถามว่าแล้วคำนี้แปลว่าอะไร ก็ตอบได้ว่า ศัพท์ว่า “พุทธชยันตี” นี้เป็นศัพท์ใหม่ที่ชาวพุทธคิดสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นชื่องานฉลองโอกาสพิเศษ ครบ ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในมหามงคลสมัยที่พระพุทธศาสนายืนยาวมาครบ ๒๕๐๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ ก็มีการฉลองอันยิ่งใหญ่ไปบรรดาชาวพุทธทั่วโลก แต่ใช้คำศัพท์เป็นชื่อเฉพาะงานว่า “พุทธชยันตี” เนื่องจากว่านั่นเป็นการนับพุทธศักราช ซึ่งเริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุ ๘๐ ปี ส่วนการฉลองพุทธชยันตีครั้งนี้ มีความหมายพิเศษระบุเจาะจงถึงปีแห่งการตรัสรู้ ที่ให้เปลี่ยนจากพระฤๅษีสิทธัตถะเป็น “พระสัมมาสัมพุทธเจ้า” เพราะได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ หรือทรงค้นคว้าแสวงหาจนพบสัจธรรม ในการจัดงานฉลองครั้งนี้เราจึงเรียกขานให้ตรงว่า “งานฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีการตรัสรู้”
คำว่า “ชยันตี” แปลความหมายตรง ๆ ว่า “ชัยชนะ” ก็ได้ และว่า “เกิด” ก็ได้ ซึ่งเมื่อแปลว่าชัยชนะ ก็หมายถึง ๑) ได้ชัยชนะเหนือกิเลสและมารทั้งปวง ๒) ได้ชัยชนะเหนือความไม่รู้คืออวิชชาอย่างเด็ดขาด ๓) ได้ชัยชนะที่ทรงใช้ความเพียรพยายามค้นหาคำตอบเรื่องความทุกข์ได้อย่างครบ สมบูรณ์ เมื่อค้นพบก็ถือว่าได้ชัยชนะ แต่คนไทยเราคงจะคุ้นคำนี้ว่า “ชะยันโต” มากกว่า “ชะยันตี” เพราะเราคุ้นเคยกับภาษาบาลีมากกว่าภาษาฮินดี ส่วน ที่แปลว่า “เกิด” ซึ่งมีความหมายตรงกับคำว่า ชนยนฺตี, ชเนตฺตี, อุปฺปาโท, อุปปชฺชนํ, อุปปตฺติ, ซึ่งทุกคำแปลว่าเกิด หรือพุทธภาษิตที่ว่า ปิยโต ชายเต โสโก ความโศกย่อมเกิดจากสิ่งที่รักเป็นต้น แต่เนื่องจากทางประเทศศรีลังกา และอินเดียเขาเริ่มใช้เป็นชื่องานฉลองโอกาสพิเศษแห่งพระพุทธศาสนามาก่อนและ เขานิยมใช้คำว่า “ชะยันตี” เป็นภาษาฮินดี ไทยเราจึงใช้ตามเขาเพื่อแสดงความเป็นเอกภาพและง่ายในการประชาสัมพันธ์ใน ระดับนานาชาติด้วย ในคราวประชุมหมาเถรสมาคมเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคมศกนี้ จึงมีมติเห็นชอบให้ใช้ชื่องานฉลองพระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลกครบ ๒๖๐๐ ปีครั้งนี้ว่า “งานฉลอง พุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า”
คำ ว่า “สัมพุทธะ” หรือ “สัมมาสัมพุทธะ” เกิดมีขึ้นได้ก็ต่อเมื่อพระฤๅษีโพธิสัตว์สิทธัตถะได้ “ตรัสรู้โดยชอบด้วยพระองค์เอง” แล้วเท่านั้น นั่นคือหลังจากที่เจ้าชายสิทธัตถะได้ทอดพระ เนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บป่วย คนตาย ทรงเห็นว่าเป็นปัญหาและทรงสรุปเบื้องต้นเป็นสมมติฐานทางการวิจัยว่าสภาพเช่น นั้น “เป็นความทุกข์” จะต้องมีสิ่งที่แก้กันคือ “ความสุข” ครั้นทรงพบเห็นสมณะก็มีพระดำริว่าน่าจะเป็นทางค้นหาให้พบความสุขได้ จึงตัดสินพระทัยออกทำงานวิจัยค้นหาความสุขเพื่อแก้ความทุกข์ให้ได้ ทรงใช้เวลาทำการวิจัยลองผิดลองถูกมาถึง ๖ ปี จากพระชนมายุ ๒๙ ถึงพระชนมายุ ๓๕ จึงวิจัยสำเร็จสมบูรณ์คือได้รู้ชัดว่า อะไรคือความทุกข์ อะไรคือสาเหตุแห่งความทุกข์ อะไรคือความดับลงอย่างเด็ดขาดแห่งความทุกข์ และอะไรคืออุบายวิธีให้ถึงความดับทุกข์อย่างเด็ดขาด เมื่อได้พบแล้วพระองค์จึงทรงประกาศว่า “เราได้รู้แล้ว” และได้เสนอผลงานวิจัยของพระองค์สู่สาธารณะชนอันมีผลมาถึงปัจจุบัน แต่การรู้ของพระองค์ไม่ใช่รู้เพียงเท่านั้น หากแต่ได้รู้สิ่งทั้งปวงตามเป็นจริงด้วย รู้ไปถึงเรื่องของจักรวาล พระองค์จึงได้พระนามอีกว่า “พระสัพพัญญู” แปลว่าผู้รู้สิ่งทั้งปวง และว่า “โลกวิทู” ผู้รู้โลกทั้งปวงเป็นต้น เพราะฉะนั้น การฉลองครั้งนี้จึงหมายถึงการฉลอง ๑) ความเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเมื่อพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ๒) ฉลองความเกิดขึ้นในโลกของพระพุทธศาสนา ๓) ฉลองความปรากฏขึ้นในโลกของสัจธรรมที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ๔) ฉลองความที่พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลกมาครบ ๒๖๐๐ ปี
อนึ่ง ศัพท์ว่า “สัมมาสัมพุทธะ” ที่แปลว่า “ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ หรือ ผู้ตรัสรู้โดยชอบด้วยพระองค์เอง” หมายความว่าทรงค้นพบสัจธรรมเองโดยการค้นคว้าวิจัยของพระองค์เอง โดยไม่มีอาจารย์สอน บาง ครั้งก็มีผู้สงสัยว่า พระพุทธองค์ตรัสรู้เองโดยไม่มีอาจารย์ได้อย่างไร ในเมื่อที่ผ่านมาก็เข้าไปศึกษาจากอาจารย์มากมาย ข้อนี้ก็เหมือนนักศึกษาที่ศึกษาจบหลักสูตรได้รับปริญญาเป็นบัณฑิต ได้ ความรู้จากอาจารย์มา แต่ความรู้นั้นยังไม่อำนวยให้รู้สิ่งที่ต้องการรู้ได้ ต่อเมื่อจบการศึกษารับปริญญาเป็นบัณฑิตแล้วไปทำงานวิจัยต่อ เป็นนักวิจัยอิสระ ลองผิดลองถูกไปอย่างมุ่งมั่น ในที่สุดก็พบสิ่งที่ต้องการรู้เองด้วยความเป็นนักวิจัยอิสระของตนเอง ข้อนี้ฉันใดพระพุทธเจ้าก็ตรัสรู้เองโดยไม่มีอาจารย์ฉันนั้น
ว่าถึง การวิจัย เราสามารถกล่าวได้ว่าพระพุทธองค์เป็นนักวิจัยคนแรกของโลก ถือว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นพระบิดาแห่งการวิจัย ระบบค้นคว้าแสวงหาความรู้ที่ทรงคิดค้นได้มาเป็นระบบที่สมบูรณ์ และสามารถใช้ประโยชน์ในการทำงานวิจัยค้นคว้าแสวงหาความรู้ได้อย่างดีเยี่ยม แม้กระทั่งปัจจุบัน นั่นคือ ๑) มีขั้นตอนฐานความคิด (การสังเกต) ๒) มีสมมติฐาน (มีความทุกข์ต้องมีความสุข) ๓) มีปัญหาทางการวิจัย (แก่ - เจ็บป่วย – ตาย) ๔) มีการประมวลความรู้เบื้องต้น ((การออกบวช-สำนักอาจารย์ต่าง ๆ) ๔) กระบวนการทดลองภาคสนาม (เข้าไปศึกษา-ทดลองด้วยตนเองในสำนักต่าง ๆ) ๕) การวิเคราะห์ข้อมูล (ประมวลจากความรู้ที่ได้จากการทดลองในสำนักต่าง ๆ) ๖) แสวงหาความรู้ใหม่เมื่อยังตอบโจทย์ (อะไรคือความทุกข์) ยังไม่ได้ ด้วยการลองผิดลองถูกด้วยตนเอง (อดกลั้นลมหายใจ-เอาลิ้นกดเพดาน-อดอาหาร) ๗) เมื่อตอบโจทย์วิจัยได้ว่าอะไรคือความทุกข์เป็นต้น (เกิดสัมโพธิญาณ) จึงมั่นพระทัยประกาศ ยืนยันว่า “เราได้รู้แล้ว” ๘) ทบทวนผลงานตั้งแต่ฐานความคิดถึงบรรลุพระสัมโพธิญาณ (๔๙ วันที่สัตตมหาสถาน) ๙) วางกรอบรูปแบบแนวปฏิบัติเพื่อเข้าถึงสัจจะที่ทรงค้นพบ (สร้างโมเดลแนว/ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ (ไตรสิกขาหรืออริยมรรคมีองค์แปด) ๑๐) เสนอผลการวิจัยสู่สาธารณชน (ประกาศธรรมโดยพิจารณาผู้รับที่เหมาะสม)
องค์ ความรู้ที่ทรงใช้เพื่อการวิจัย ๗ ประการที่ทรงใช้ เป็นแบบมาตรฐานที่สามารถให้ความเที่ยงตรง ไม่ให้ความรู้หรือสิ่งที่ค้นพบคลาดเคลื่อนจากความจริงคือ
๑. ทบทวนวรรณกรรมทั้งปวงที่สามารถทบทวนได้ (สติ ความระลึกรู้)
๒. คัดเลือก คัดสรรแนวที่มีความถูกต้องหรือใกล้เคียงความถูกต้องที่สุด (ธมฺมวิจโย)
๓. สร้างความกล้าหาญ มุ่งมั่น เด็ดเดี่ยวในการตัดสินใจลงมือทำงานวิจัย (วิริโย)
๔. สร้างความพึงพอใจในการได้ลงมือทำงานวิจัยมีความสุขกับการได้ทำสิ่งนั้น (ปีติ)
๕. เตรียมกายเตรียมใจและเวลาให้พร้อมเพื่อความมุ่งมั่นทำงาน (ปสฺสทฺธิ)
๖. มีความหนักแน่น ไม่โลเล ไม่ท้อแท้ ไม่ให้อุปสรรคต่าง ๆ มาทำลายความตั้งใจ มีความมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวไม่พบสิ่งต้องการรู้ไม่หยุดค้นคว้า (สมาธิ)
๗. ทบทวน สังเกต ตรวจสอบ ให้ได้ค่าความเชื่อมั่น (อุเปกฺขา = อุป + อิกฺข) อุเบกขาในที่นี้ไม่ได้แปลว่า “วางเฉย” อุปะ แปลว่า “มั่น” อิกขะ แปลว่า ดู, เห็น, ตรวจสอบ เมื่อรวมเข้ากันเป็นคำเดียวจึงต้องแปลว่า “ตรวจสอบให้มั่นใจ)
ทั้ง ๗ ข้อนี้ ทรงชี้ว่าเป็นองค์ความรู้ (โพชฌงค์ องค์แห่งการตรัสรู้ แปลเป็นภาษาวิชาการทั่วไปว่า “องค์แห่งความรู้” อันหมายความว่าเมื่อทำงานวิจัยแสวงหาความรู้ใด ๆ ด้วยการใช้องค์แห่งความรู้ทั้ง ๗ ประการนี้เป็นบรรทัดฐาน ความรู้ที่ได้จากการวิจัยชิ้นนั้น จะเป็นความรู้ที่เที่ยงตรง มีค่าความเชื่อมั่นเต็มร้อย สามารถตอบโจทย์วิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในทุกยุคทุกสมัย เป็นองค์ความรู้ที่ยั่งยืนเป็น “อกาลิโก”
พระพุทธองค์ประสบความ สำเร็จในการวิจัยแล้วได้ทรงอาศัยพระมหากรุณาคุณ มุ่งมั่น ท่องเที่ยวไปเสนอผลงานวิจัยต่อสาธารณชนเป็นเวลา ๔๕ ปีพร้อมกับภาระให้แก่พระสาวกสาวิกาช่วยทำงานเป็นประโยคที่สำคัญว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราได้พ้นแล้วจากบ่วงทั้งที่เป็นของทิพย์ ทั้งที่เป็นของมนุษย์ แม้ท่านทั้งหลายก็เหมือนกัน ท่านทั้งหลายจงเที่ยวไปในชนบท เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชนเป็นอันมาก แต่อย่าไปรวมกัน ๒ รูปโดยทางเดียวกัน จงแสดงธรรมมีคุณงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลางและงามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะ อันบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง สัตว์ทั้งหลายที่มีกิเลสบังปัญญาดุจธุลีในจักษุน้อยเป็นปกติมีอยู่ เพราะโทษที่ไม่ได้ฟังธรรมย่อมเสื่อมจากคุณที่จะพึงได้พึงถึง ผู้รู้ทั่วถึงธรรมจักมีอยู่ แม้เราก็จะไปยังตำบลอุรุเวลาเสนานิคมเพื่อจะแสดงธรรม” สรุปสั้น ๆ ว่า “เธอทั้งหลายจงไปแสดงธรรมเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่พหุชน เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก”
สิ่งสำคัญที่พระพุทธองค์ทรงย้ำเน้นไว้ในธัม มจักกัปปวัตนสูตร (พระไตรปิฎกเล่ม ๔) คืออุบายวิธีเข้าถึงความรู้หรือความจริง และตรัสไว้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์เส้นเดียวที่ให้ไปถึงจุดหมายปลายทางได้แน่ นอนคืออริยมรรคมีองค์แปดนั่นเอง และทางนี้ถือว่าเป็นทางที่สร้างไว้สำเร็จสมบูรณ์แล้ว เป็นเส้นทางที่ประกอบด้วย ๑ ยุทธศาสตร์เพื่อความสุขถาวร เส้นทางนี้มี ๘ มาตรฐานการดำเนินงาน และ ๒๖ ดรรชนีชี้วัด ซึ่งได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ สัมมาทิฏฐิ ความเห็นที่เรียกว่าถูกต้อง ต้องประกอบด้วย ๔ ดรรชนีชี้วัดได้แก่
๑) ทุกฺเข ญาณํ หยั่งรู้หยั่งเห็นว่าความทุกข์ทั้งปวงที่ทรงแสดงไว้แล้วนั้นมีอยู่จริง
๒) ทุกฺขสมุทเย ญาณํ หยั่งรู้ว่าตัณหาเป็นสาเหตุให้เกิดความทุกข์ทั้งปวงจริง
๓) ทุกฺขนิโรเธ ญาณํ หยั่งรู้หยั่งเห็นว่าเมื่อดับสาเหตุแห่งความทุกข์ทั้งปวงได้ก็เป็นการดับความทุกข์ทั้งปวงได้จริง
๔) ทุกฺขนิโรธคามินิยา ปฏิปทาย ญาณํ หยั่งรู้หยั่งเห็นในปฏิปทาอันให้ถึงความดับลงอย่างเด็ดขาดแห่งความทุกข์ สามารถเป็นไปได้จริง
นี้คือดรรชนีชี้วัด “ความเห็นชอบ” เห็นอย่างอื่นไม่ชื่อว่าเห็นชอบตามข้อว่า สัมมาทิฏฐิ นี้ ข้อนี้ทำให้ได้ความชัดว่าเห็นอย่างไรเรียกว่าเห็นชอบ
มาตรฐานที่ ๒ สมฺมาสงฺกปฺโป ความคิดหรือความดำริที่ถูกต้อง มีดรรชนีชี้วัดความถูกต้อง ๓ อย่างคือ
๑) เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป ความคิดออกจากกาม หรือความคิดออกห่างจากความมัวเมาเพลิดเพลินในกาม อันรวมไปถึงเรื่องบริโภคนิยม (บริโภคทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) มีความรู้จักประมาณ รู้จักพอเพียง
๒) อพฺยาปาทสงฺกปฺโป ความคิดความดำริ ลด ละ เลิก ความอาฆาตพยาบาทผู้อื่น (มีแต่เมตตา ปรารถนาให้ผู้อื่นอยู่เย็นเป็นสุขด้วยกัน)
๓) อวิหิงฺสาสงฺกปฺโป ความคิดคามดำริ ลด ละ เลิก ความเบียดเบียนทำลายล้างชีวิตและทรัพย์สินของกันและกัน (มีความเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน)
มาตรฐานที่ ๓ สัมมาวาจา การกล่าววาจาที่ถูกต้องชอบธรรม มีตัวดรรชนีชี้วัดคำว่า “สัมมา” ๔ ข้อคือ
๑) มุสาวาทา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำพูดเท็จ คำที่ไม่ตรงกับความจริง คลาด เคลื่อนจากความจริง (มี สัจวาจา)
๒) ปิสุณวาจา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำยุยงส่งเสริมให้เกิดความขัดแย้งหรือเกิดแตกแยก หรือทำลายสามัคคี (มี วาจาเสริมสร้างสามัคคี)
๓) ผรุสาวาจา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำพูดหยาบคายเช่นคำด่า คำลบหลู่ดูหมิ่น คำพูดแดกดันกดขี่ (มี ปิยวาจา)
๔) สฺมผปฺปลาปา เวรมณี กล่าววาจามีเจตนาเว้นจากคำพูดเพ้อเจ้อไร้สาระไร้ประ -โยชน์ ผิดกาลเทศะ (มี อัตถวาจา)
มาตรฐานที่ ๔ สมฺมากมฺมนฺโต การทำงานที่เป็นไปโดยชอบโดยถูกต้อง มีดรรชนีชี้วัดความถูกต้อง ๓ อย่างคือ
๑) ปาณาติปาตา เวรมณี ทำงานด้วยมีเจตนางดเว้นจากการฆ่า การทำลายล้างกัน มีความเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์โลก เคารพในการมีชีวิตอยู่ของกันและกัน
๒) อทินฺนาทานา เวรมณี ทำงานด้วยมีเจตนางดเว้นจากการลักฉ้อ ทุจริตคอรัปชั่น มีสัมมาอาชีพ เคารพรพในสิทธิแห่งการครอบครองทรัพย์สินของกันและกัน
๓) กาเมสุ มิจฺฉาจารา เวรมณี การทำงานที่มีเจตนางดเว้นจากความประพฤติผิดในกามทุกชนิดเช่น ประกอบการค้ากาม ประกอบการบริการกาม ประกอบการบริโภคกาม อันเป็นการทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ต้องยกย่องให้เกียรติศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของกันและกัน เคารพรักษาประเพณีอันดีงามของมนุษย์ด้วยกัน
มาตรฐานที่ ๕ สมฺมาอาชีโว การประกอบอาชีพถูกต้อง สุจริต ชอบธรรม มีดรรชนีชี้วัดเป็นหลักกว้าง ๆ ๒ อย่างคือ
๑) อกุสลานํ ปหานา เจตนาเว้นงานที่ผิดกฎหมาย ผิดจารีตประเพณี ผิดศีลธรรมจรรยา และ งานที่เป็นบาปอกุศล งานที่มีโทษ งานที่อากูล งานที่เป็นทางแห่วงอบายมุข
๒) กุสลานํ อุปสมฺปทา เจตนาทำงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย จารีตประเพณี ถูกต้องตามหลักศีลธรรมจรรยา งานที่ก่อให้เกิดบุญกุศล งานที่ส่งเสริมแนวทางสวรรค์และนิพพาน
มาตรฐานที่ ๖ สมฺมาวายาโม ความเพียรพยายามที่หนักแน่นเป็นประธานในการทำงาน มีดรรชนีชี้วัดตัวความเพียรนี้ ๔ อย่างคือ
๑) สงฺวรปธานํ ความเพียรพยายามป้องกันกิเลสหรือภัยพิบัติต่าง ๆ อย่างรอบคอบไม่ปล่อยให้ภัยพิบัติเกิดก่อนแล้วตามแก้
๒) ปหานปธานํ ความเพียรพยายามกำจัดทำลายกิเลสหรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้นแล้ว มีขึ้นแล้วให้หมดสิ้นไปเสียแต่โดยเร็ว
๓) ภาวนาปธานํ ความเพียรพยายามสร้างคุณความดี สร้างทางเจริญอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดยั้ง ไม่เปิดโอกาสให้ภัยพิบัติได้โอกาสเกิดหรือเติบโต
๔) อนุรกฺขนาปธานํ ความเพียรพยายามรักษาคุณความดี รักษามาตรฐานความดีให้มีความมั่นคงยั่งยืนตราบเท่าที่ยังมีชีวิต
ทั้ง ๔ ข้อนี้ ยังถือได้ว่าเป็นกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาได้ทุกอย่างตั้งแต่ปัญหาเล็ก ๆ จนถึงปัญหาระดับชาติและระดับโลก
มาตรฐานที่ ๗ สัมมาสติ ความมีสตีระลึกชอบ มีตัวดรรชนีชี้วัดความ “ชอบ” ของสติ ๔ ประการคือ
๑) กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบกาย (ระลึกรู้สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ)
๒) เวทนานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบอารมณ์ความรู้สึก สุข ทุกข์ ไม่ทุกข์ไม่สุข
๓) จิตฺตานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบสภาพจิตของตนให้กระจ่างชัด
๔) ธฺมมานุปสฺสนาสติปฏฺฐานํ ระลึกรู้ตรวจสอบธรรมในภายในตนให้มีความรู้แจ้งชัดว่ามีอะไร บ้างในตน
มาตรฐานที่ ๘ สัมมาสมาธิ ความตั้งจิตมั่นคง ไม่หวั่นไหวไปตามกระโลกกระแสธรรมใด ๆ มีดรรชนีชี้วัดความมั่นคงหลัก ๆ ๒ ระดับคือ
๑) สมถกมฺมฏฺฐานํ ความสงบหนักแน่นมั่นคงแห่งจิต (สมถะหรือสมาธิ)
๒) วิปสฺสนากมฺมฏฺฐานํ ความรู้แจ้งเข้าใจชัดในสังขารธรรม (วิปัสสนา-ปัญญา)
ว่า กันโดยย่นย่อ หนึ่งเส้นทางยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย แปดมาตรฐานและ ยี่สิบหกดรรชนีชี้วัดของแต่ละมาตรฐาน เมื่อดำเนินการตามกระบวนการครบถ้วน ทุกอย่างก็ย่อมถึงความสำเร็จได้ จะเห็นว่าหลักการและวิธีการเพื่อความเข้าถึงสัจจะของพระพุทธเจ้ามีความ สมบูรณ์ ความทันสมัยอย่างน่าประหลาดใจจริง ๆ
จากวันที่ได้ตรัสรู้มา ถึงวันวิสาขบูชา พุทธศักราช ๒๕๕๕ (ตรงกับวันจันทร์ที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๕๕) จะครบ ๒๖๐๐ ปี ชาวพุทธทั่วทั้งโลกจึงมีดำริร่วมกันในการมีส่วนร่วมในงานฉลองมหามงคลครั้ง นี้ และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้จัดทำเอกสารนี้ขึ้นเพื่อเป็นการชี้แจงทำ ความเข้าใจและศึกษาเป็นพุทธบูชาอีกส่วนหนึ่งด้วย
พระเทพวิสุทธิกวี (เกษม)
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสวิหาร
รองเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ ธรรมยุต
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสวิหาร
รองเจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ ธรรมยุต
05 มิถุนายน 2555
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
วันระหว่างประเทศ
วิสาขบูชาวัน - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
วิสาขบูชาวัน - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
ลักษณะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะคล้ายกับดวงอาทิตย์ขึ้นและส่องแสงไปยังสิ่งมีชีวิตทั้งหมดโดยไม่มีอคติใด ๆ เขาเกิดจะได้รับประโยชน์และทำให้มนุษย์และสัตว์จะมีความสุข
Perfection Persuit- วันวิสาขบูชา - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
ถ้า
เราจะอธิบายความเมตตาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในเวลาอันสั้น,
คำอธิบายของเราเป็นเหมือนที่ผ่านน้ำผ่านรูเข็มในขณะที่ความเมตตาทั้งหมดของ
เขาก็เหมือนน้ำในมหาสมุทร ทั้งนี้เป็นเพราะเขามีความเมตตาสิ่งมีชีวิตที่ดีในการมาตั้งแต่เขาเป็นพระโพธิสัตว์ เขาคิดที่จะสอนด้วยตัวเองและสอนมนุษย์และสวรรค์ที่จะบรรลุธรรม เขาคิดและมันจงใจ เขาได้ติดตามสามสิบ Perfections สำหรับ 20 Asaṅkheyyaและ 100.000 Kappas มหาแล้วเขา Perfections ได้เต็มรูปแบบ เขาเกิดเป็นกษัตริย์ซานตาดุสิตาผู้ปกครองสวรรค์ดุสิตาและรอเวลาที่เหมาะสม
เมื่อเวลาที่เหมาะสมมาถึงสิ่งมีชีวิตบนท้องฟ้าและ Brahmas จากพันจักรวาลมารวมตัวกันเพื่อเชิญพระโพธิสัตว์ไปเกิดใหม่ในโลกมนุษย์ เขา ได้กำหนดห้าปัจจัยที่มีโลก, ประเทศ, อายุเฉลี่ยของมนุษย์, ครอบครัวสูงส่งและแม่และเลือกที่จะเกิดในทวีปชมพู (หรือโลกของเรา), ประเทศพัฒนา (อินเดียในขณะนั้น), ค่าเฉลี่ย 100 - คนปีในพระราชวงศ์และพระราชินี Sirimahamaya เป็นแม่ของเขา ดังนั้นเขาจึงตอบรับคำเชิญและทำให้ความปรารถนาที่จะเกิดในโลกมนุษย์
วันเกิดของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า - วันวิสาขบูชา - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
ก่อน
พุทธกาลสำหรับ 80 ปีที่ลุมพินีการ์เด้น - สวนระหว่าง Kapilavastu และ
Devadaha เมือง - ในวันที่ดวงจันทร์เต็มของเดือนจันทรคติที่หก, ปรินซ์
Siddhartha เกิดเมื่อวันที่
เมื่อ สมเด็จพระราชินี Sirimahamaya แม่ของพระพุทธศาสนาเป็นที่ตั้งครรภ์เธอจะได้เห็นพระโพธิสัตว์นั่งอยู่ในท่า ดอกบัวอย่างชัดเจนเช่นเขานั่งอยู่ข้างนอกเพราะเธอเก็บไว้ศีลอย่างดีและถือ ปฏิบัติเป็นจำนวนมาก ในขณะที่เธอถูกส่งมอบให้เขาเธอต้องยืนแทนการนอนอยู่บนพื้นหรือพื้นดินและเท้าพระโพธิสัตว์ของออกไปก่อน เมื่อเท้าของเขาสัมผัสพื้นดินที่เขาสามารถยืนและเดินไปในครั้งเดียว มันเป็นความมหัศจรรย์!
เมื่อ พระโพธิสัตว์เกิดและยืนเสถียรเขากล่าวสุนทรพจน์ครั้งแรกเพื่อยืนยันวัตถุ ประสงค์ของการเกิดของเขาอย่างชัดเจนว่าเขาเป็นคนที่ดีที่สุดและสูงส่งที่สุด ในโลกและนี่คือชีวิตล่าสุดของเขาเขาก็จะไม่เกิดใหม่อีกครั้ง
ในขณะที่พระโพธิสัตว์ได้รับการส่งมอบมีความสว่างครอบคลุมโลกและหลายพันจักรวาล มี จำนวนทั้งสิ้น 32 omens ดีที่ปรากฏเช่นในพันของจักรวาลมีครอบคลุมสดใสไร้ขีด จำกัด ตาบอดกลายเป็นปฏิปักษ์ต่อคนตาบอดหูหนวกกลายเป็นปฏิปักษ์ต่อหูหนวกใบ้กลาย เป็นยกเลิกการใบ้หลังค่อมกลายเป็นตรงกลับอ่อนแอกลายเป็น ยกเลิกอ่อนแอ, สัตว์ขังกลายเป็นฟรีไฟนรกกลายเป็นดับผีหิวไม่หิวก็กลายเป็นสัตว์กลายเป็น ความกล้าหาญ, สัตว์กลายเป็นไม่ได้ปัญหาจากอาการและกิเลส ฯลฯ เหล่านี้เป็นปาฏิหาริย์ที่แทบจะไม่เกิดขึ้นในโลก .
เมื่อเจ้าชาย Siddhartha เติบโตขึ้นมาเขาเรียนกับครูที่ดีที่สุดในประเทศ เขาใช้เวลาเพียง 7 วันในการศึกษาและรู้ว่าความรู้ทั้งหมดของครูของเขาที่มีการศึกษาเพื่อชีวิตทั้ง ถึงแม้ว่าเจ้าชายคือดูดี, รวยและมีคุณภาพที่ยอดเยี่ยมมากเขาไม่ได้ประมาทในชีวิต เมื่อ
เขาเห็นเด็ก, คนชรา, ผู้ป่วยตายและ eremite เขารู้ทันทีว่าเขาควรจะ
eremitic
เพราะมันเป็นชีวิตที่สูงส่งและมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นอิสระจากความทุกข์
ทรมาน เจ้าชายขี่ม้า Kanthaka ไปบวชที่ธนาคารของแม่น้ำ Neranjara เมื่อเขาเป็น 29 ปีแล้ว
วันตรัสรู้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า 's
หลังจากที่พระโพธิสัตว์ได้ทำให้ความพยายามเป็นเวลา 6 ปีในวันที่ดวงจันทร์เต็มของเดือนจันทรคติที่หกเขานั่งอยู่ในท่าบัวใต้ต้นโพธิ์ มารใช้อำนาจของเขาที่จะทำให้หนึ่งร้อยอัสนีและบังคับให้มันไปตีพระโพธิสัตว์ แต่เขาไม่สามารถ ทั้ง นี้เป็นเพราะความมุ่งมั่นของพระโพธิสัตว์ว่าถ้าเลือดและกล้ามเนื้อของเขาถูก หายไปเหลือเพียงผิวหนังเส้นเอ็นของเขาและโครงกระดูกเขาจะไม่ยืนขึ้นจากม้า นั่งของเขาจนกว่าเขารู้แจ้ง
วันตรัสรู้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า 's
หลังจากที่พระโพธิสัตว์ได้ทำให้ความพยายามเป็นเวลา 6 ปีในวันที่ดวงจันทร์เต็มของเดือนจันทรคติที่หกเขานั่งอยู่ในท่าบัวใต้ต้นโพธิ์ มารใช้อำนาจของเขาที่จะทำให้หนึ่งร้อยอัสนีและบังคับให้มันไปตีพระโพธิสัตว์ แต่เขาไม่สามารถ ทั้ง นี้เป็นเพราะความมุ่งมั่นของพระโพธิสัตว์ว่าถ้าเลือดและกล้ามเนื้อของเขาถูก หายไปเหลือเพียงผิวหนังเส้นเอ็นของเขาและโครงกระดูกเขาจะไม่ยืนขึ้นจากม้า นั่งของเขาจนกว่าเขารู้แจ้ง
เมื่อเกราได้รู้จักเกี่ยวกับความตั้งใจของพระโพธิสัตว์ที่พวกเขากลัวและหลอกหลอนคิง Paranimmitsavatti ดังนั้นกษัตริย์ Paranimmitsavatti ก็มีมุมมองที่ไม่ถูกต้อง เขาได้ย้ายกองกำลังทหารของพวกเขาคุกคามพระโพธิสัตว์ พวกเขาอ้างว่าพระโพธิสัตว์กำลังนั่งบนม้านั่งคิง Paranimmitsavatti ของ แต่พระโพธิสัตว์ก็ไม่ได้สะเทือนและเก็บไว้ stilling ใจของเขา สุดท้ายเขาเอาชนะพวกเขาด้วยพลังของดีที่สะสม Perfections ของเขา
พระโพธิสัตว์พิจารณาธรรมได้อย่างแม่นยำและมันกลับมา การกำหนดธรรมของพระองค์ที่เกิดจากแผ่นดินไหวครั้งที่ 12 ในที่สุดเขาได้รู้แจ้งจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในยามเช้า
พระโพธิสัตว์พิจารณาธรรมได้อย่างแม่นยำและมันกลับมา การกำหนดธรรมของพระองค์ที่เกิดจากแผ่นดินไหวครั้งที่ 12 ในที่สุดเขาได้รู้แจ้งจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในยามเช้า
วิสาขบูชาวัน - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้, นรกมืดสนิทกลายเป็นสดใสได้ในครั้งเดียว น้ำในมหาสมุทรก็กลายเป็นน้ำหวาน แม่น้ำไม่ไหล คนตาบอดก็กลายเป็นปฏิปักษ์ต่อคนตาบอด หูหนวกกลายเป็นปฏิปักษ์ต่อคนหูหนวก ตายกลายเป็นปฏิปักษ์ต่อง่อย โซ่ตรวนถูกหักโดยอัตโนมัติ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้รับการเคารพบูชาจากมนุษย์กับสวรรค์
หลังจากที่ตรัสรู้, พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีความเมตตาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและสอนมนุษย์ที่จะบรรลุธรรมเป็นเวลา 45 ปี เขาจะเดินทางด้วยการเดินเท้าเพื่อเผยแพร่ศาสนาในหลายพื้นที่โดยไม่ต้องมีบ่น เขา สอนธรรมะได้อย่างชัดเจนเช่นการเปลี่ยนข้อเสียขึ้นเปิดโปงสิ่งที่ปกปิดบอกทาง ไปเดอเรอร์หรือโคมไฟส่องสว่างในที่มืดสำหรับคนดังนั้นจำนวนมากของมนุษย์ บรรลุธรรม
วันตายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เมื่อ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าคือ 80 ปีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าล่วงลับไปแล้วที่ศาลาป่าใน Kusinara ในวันที่ดวงจันทร์เต็มของเดือนจันทรคติที่หกก่อนพุทธกาลเป็นเวลาหนึ่งปี ถึงแม้ว่าร่างกายของเขาไม่ได้อยู่ตอนนี้ได้ธรรมกายของเขาอยู่ในนิพพาน ก่อนที่เขาจะจากไปเขาให้พระธรรมเทศนาเป็นครั้งสุดท้ายที่ร่างกายของเขาไม่เสถียรและสลายตัวเป็นสิ่งที่พบคุณไม่ควรจะประมาท
วิสาขบูชาวัน - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
ทั้งหมดเป็นเรื่องที่สรุปเกี่ยวกับการเกิดการตรัสรู้ของพระพุทธศาสนาและความตาย มันเป็นเรื่องดีและเป็นแรงบันดาลใจให้เราได้ติดตาม Perfections โดยทำตามเขา เขาเป็นอาจารย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก! Ever! ดังนั้นเราควรจะเรียกเขาทุกวันจันทร์เต็มดวงจันทร์วันที่หกหรือวันวิสาขบูชา
แสงพุทธชุมชน วิสาขบูชา โคมเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยกันในวันวิสาขบูชา
วิสาขบูชาวัน - วันอินเตอร์เนชั่นแนล
วัน
วิสาขบูชาเป็นวันที่เราทั้งสี่ชุมชนชาวพุทธควรชักชวนคนเพื่อเตือนของพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าและการแสวงหาความสมบูรณ์แบบของเขาตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุด
ท้าย เราควรศึกษาธรรมะซึ่งเป็นแสงนำทางชีวิตของพวกเขาในทางที่ถูกและส่องทางไปสู่สวรรค์และนิพพานของเขา นอกจากนี้เราควรจะมาร่วมกันเพื่อนั่งสมาธิเพื่อบรรลุธรรมกายซึ่งเป็นกายแห่งการตรัสรู้ เราควรหาโอกาสไปแสงโคมไฟและ circumambulate ตามเข็มนาฬิการอบพระเจดีย์พุทธศาสนาเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอกจะสดใสด้วยแสงเทียน; ภายในจะสดใสโดยพระธรรมแสง
เทศน์โดยวัดพระธรรมกาย พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (Dhammajayo Bhikkhu)
เทศน์โดยวัดพระธรรมกาย พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (Dhammajayo Bhikkhu)
แปลโดย Chadawee Chaipooripat
ที่มา: http://www.dmc.tv/pages/en/scoop/vesak-day.html
ที่มา: http://www.dmc.tv/pages/en/scoop/vesak-day.html
เรื่องราวของพระพุทธเจ้า
พอดี ตอนนี้สนใจพระพุทธศาสนา เลยนำบทความเรื่อง.."นี่คือเรื่องราวชีวิตของพระพุทธเจ้าในภาพคือ ชุดภาพที่ได้รับการแบ่งออกเป็นสามหน้าซึ่งแต่ละหน้าให้การสนับสนุนการขยายภาพเล็ก ข้อความที่เป็นช่วงสั้น ๆ แต่ค่อนข้างจะเป็นประโยชน์ในการที่จะมีเพียงข้อเท็จจริงที่สำคัญของเรื่องแบบดั้งเดิม คำอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถพบได้ที่ CHICAGO . มี คุณภาพสูงมากชุดของภาพนิ่งที่ผลิตจากภาพเหล่านี้ถูก แต่ผมจะยังไม่ได้ระบุตำแหน่งได้ทั้งที่ศูนย์ข้อมูลทางพุทธศาสนาหรือใครก็ตาม ที่รู้ว่าชุดอาจจะได้รับ ฉันจะยินดีที่จะได้รู้ว่าของที่อยู่ติดต่อ | ||||||||||
เกิดจากโพธิสัตว์ เกี่ยวกับวันเต็มดวงในเดือนพฤษภาคม (วิสาขะ) 2600 ปีที่ผ่านมาเกิดปรินซ์ที่ชื่อ Siddhattha เกิด
ของเขาเกิดขึ้นที่ลุมพินี (ที่ทันสมัย Rumindei ในประเทศเนปาล)
โดยที่แม่ของ Mahamaya เขามเหสีของกษัตริย์หัวหน้า Suddhodana จาก
Kapilavatthu,
พักผ่อนกับกลุ่มผู้ติดตามพระราชเธอในทางของเธอไปที่บ้านของพ่อแม่ของเธอใน
Devadaha ในภาพพระราชินี Mahamaya ยืนอยู่ภายใต้การออกดอกของต้นไม้ Sal การถือครองเพื่อหนึ่งในสาขาของตน
| ||||||||||
ชีวิตในฐานะเจ้าชาย Manifold คือความหลากหลายของทุกสุขหอมรัญจวนใจที่อยู่ภายในพระราชวังดนตรีและเพลงที่ เต็มไปห้องโถงพระราชวังในเวลากลางคืนและในวันนั้นความงามและความสง่างามของ หญิงเต้นรำของตนกลิ่นหอมของน้ำหอมที่ลึกซึ้ง; เส้นไหมที่ดีที่สุดและอัญมณีล้ำค่าสำหรับเครื่องประดับ เครื่องประดับและ; และอาหารที่หายากและอาหารสำหรับตารางพระราช และยังวันหลังจากวันนั่งอยู่ท่ามกลางความหรูหราทั้งหมดนี้เจ้าชายยังคงไม่ไหวติง เคย อยู่ในอารมณ์ที่คิดกับรูปลักษณ์อันห่างไกลที่สวยงามในสายตาของเขาที่เขา Muses กับธรรมชาติหายวับไปจากความสุขที่เรียกว่าของชีวิตและความสุขของหนี้สงสัยจะ สูญ | ||||||||||
ความเป็นจริงของชีวิต ความ พยายามทั้งหมดของกิ่ง Suddhodana เพื่อปกป้องลูกชายของเขาจากสี่สถานที่ท่องเที่ยวที่เก่า-อายุ, โรคตายและสันโดษเป็นของไม่มีประโยชน์ เนื่อง ในโอกาสบางอย่างบนทางของเขาเพื่อความสุขของพระราชสวนปรินซ์จะเผชิญหน้ากับ หนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวเหล่านี้มากในแต่ละครั้งและจะยื่นกับความสงสัยและ ความลึกความหวั่นหวาด ไม่นานหลังจากนี้เขาได้พบกับนักพรตหลง ประทับ ใจกับเครื่องแบบอึมครึมและการกระทำอันเงียบสงบของฤๅษีจรจัดเจ้าชายที่มี ลักษณะยาวและยากที่เขาและนั้นทำให้ขึ้นใจของเขาที่จะออกจากพระราชวังสำหรับ ชีวิตของคนเร่ร่อน | ||||||||||
ยิ่งใหญ่ไปมา ใน วัน Asalha เต็มดวงจันทร์ (กรกฎาคม) มกุฎราชกุมารได้รับข่าวที่นำมาจากพระราชวังเดือนปีเกิดของลูกชายกับภรรยาของ เจ้าหญิงที่สวยงาม Yasodhara ของเขา ตื่นตระหนกที่พัฒนาสดนี้นี้ล่ามโซ่ใหม่ที่จะผูกพันให้เขาใกล้ชิดกับโลก, ปรินซ์ตัดสินใจที่จะออกจากพระราชวังในคืนนั้นมาก เพื่อ ประโยชน์ของพ่อราชินีของเขาลูกชายของเขาเพื่อประโยชน์ของมวลมนุษยชาติที่เขา จะออกจากโลกที่จะแสวงหาวิธีที่จะช่วยโลกจากความทุกข์ทั้งหมด นี่คือการสละที่ยอดเยี่ยม | ||||||||||
การทดสอบด้วยการถือสันโดษ สำหรับหกปีนานนักพรต Gotama เป็นเจ้าชาย Siddhattha เป็นที่รู้จักในตอนนี้เดินไปตามทางหลวงและ Byways ของอินเดีย เขา จะไป Alara กาลามะและ Uddaka Ramaputta สองที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของครูผู้สอนศาสนาที่สอนให้เขาทุกอย่างจากร้านค้าของ พวกเขาจากความรู้และภูมิปัญญา แต่นักพรต Gotama ไม่พอใจสำหรับคำสอนของพวกเขาไม่นำไปสู่การยุติของความทุกข์ ด้วย ยึดมั่นพลังงานที่เขาผ่านการมีระเบียบวินัยเข้มงวดนักพรตทั้งทางร่างกายและ จิตใจที่กำลังมองหาวิธีที่จะเลิกสูบบุหรี่ของความทุกข์ทรมานต่อไปผ่าน ในท้ายที่สุดเขาจะกลายเป็นลีนและกะหร่องและโครงกระดูกเพียง | ||||||||||
ทิ้ง ขั้วทั้งสองของชีวิตที่หรูหราและทรมานร่างกายด้วยตนเอง, โพธิสัตว์เจ้าชายเลือกเส้นทางสายกลางของความพอประมาณบนพื้นฐานของการปฏิบัติ คุณธรรม (ศิลา), ความเข้มข้นของจิตใจ (สมาธิ) และการวิเคราะห์อย่างเข้มข้นจากทุกปรากฏการณ์จิตใจทางกายภาพที่นำไปสู่ที่ สุด เพื่อความเข้าใจที่เต็มไปด้วยสิ่งดังที่เป็นจริง (Panna) นั่งอยู่ใต้ต้นโพธิ์ที่ Buddhagaya เขาบรรลุสัมมา Sambodhi และกลายเป็นศาลฎีกาพระพุทธ | ||||||||||
มี รู้อริยสัจสี่ --- ความจริงโนเบิลของความทุกข์; สาเหตุของความทุกข์; การเลิกจากความทุกข์; และเส้นทางที่นำไปสู่การเลิกจากความทุกข์โดยตัวของเขาเองพระพุทธเจ้าตอนนี้ ตัดสินใจที่จะสอนให้พวกเขาห้าฤาษีที่ ได้ทำหน้าที่ก่อนหน้านี้เขาได้ที่ Uruvela ใน Buddhagaya ใน ตอนท้ายของวาทกรรมนี้เป็นครั้งแรกซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะซูต Dhammacakkappavattana "และมอบให้แก่ห้าฤาษีที่ถูกตอนนี้อาศัยอยู่ที่ Isipatana ในเบนาที่เก่าแก่ที่สุดของพวกเขา, Kondaññaตระหนักถึงเส้นทางแรกและบรรลุผลจากกระแสชนะ-(Sotapanna ) หรือเป็นผู้หนึ่งที่ไปกับกระแสของ Samsara (รอบการเกิดซ้ำของชีวิตและความตาย) | ||||||||||
ไปกันตอนนี้และเดินเพื่อสวัสดิการของหลาย พระพุทธรูปที่อยู่บน Isipatana สำหรับฤดูฝน อย่าง ไรก็ตามก่อนที่ภายในสัปดาห์แรกของการให้ของซูต Dhammacakkappavattana ของพระองค์ทั้งห้าฤาษีถึงบรรลุผลสูงสุดของความใจบุญและทำให้กลายเป็นครั้ง แรกห้าสาวกของพระพุทธเจ้า Arahant ก่อนที่ฤดูฝนจะมากกว่า Fifty Five คนอื่น ๆ ได้ตามเหมาะสม พระ พุทธรูปในขณะนี้ exhorts สาวกของพระองค์หกสิบ: - 'จงออกไป bhikkhus พวกท่านสำหรับการจัดสวัสดิการของหลายสำหรับความสุขของหลาย ๆ ที่ออกจากความเมตตาของโลกสำหรับสวัสดิการที่ดีและความสุขของพระเจ้าและ มนุษย์' ดังนั้นสาวกที่กำหนดไว้ในการแพร่กระจายการเรียนการสอนใหม่ |
23 เมษายน 2555
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สภาพแวดล้อมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
1. ทำเลที่ตั้ง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในบริเวณละติจูดที่ 10 องศาใต้ ถึง ละติจูดที่ 28 องศาเหนือ และลองติจูดที่ 92 องศาตะวันออก ถึง 140 องศาตะวัน ออก เป็นภูมิภาคที่ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศที่อยู่ในภูมิภาคนี้ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และติมอร์ตะวันออก
2. ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ( ตะวันตก ) และส่วนที่เป็นเกาะ ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย ( ตะวันออก ) และ ติมอร์ตะวันออก
หมายเหตุ ประเทศมาเลเซียแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1. ลักษณะภูมิประเทศส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ มีเทือกเขาสำคัญ ได้แก่ เทือกเขาอาระกันโยมา อยู่ทางทิศตะวันตกของพม่า และเทือกเขาเปกุโยมา ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขาอาระกันโยมา เทือกเขาตะนาวศรีกั้นพรมแดนระหว่างไทยกับพม่า นอกจากนี้ยังมีเทือกเขาดงพญาเย็น เทือกเขาแดนลาว และเทือกเขาอันนัมในเวียดนาม
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำที่สำคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวิน ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง
2. ลักษณะภูมิประเทศส่วนที่เป็นเกาะหรือหมู่เกาะ เป็นบริเวณที่มี๓เขาไฟเป็นจำนวนมากทั้งที่ดับแล้วและยังคุกกรุ่นอยู่ โดยเฉพาะในอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
เศรษฐกิจ
อาชีพสำคัญของประชากร
1. เกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ เขตภูเขาไฟ เพราะมีดินที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุและเป็น ประโยชน์แก่พืช พืชที่ปลูกได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว เครื่องเทศ ผักผลไม้ เป็นต้น
2. การทำป่าไม้ ในภูมิภาคนี้มีพันธุ์ไม้นานาชนิด ในบริเวณเขตร้อนชื้น ฝนตกชุก จะเป็นเขตป่าทึบ มีต้นไม้ลำต้นสูงใหญ่ ได้แก่ เขตป่าไม้ ้ภาคใต้ของไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในเขตป่าโปร่งจะมีต้นไม้ผลัดใบและไม่ผลัดใบ ได้แก่ ป่าไม้ในไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา และพม่า ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ เช่น ไม้สัก ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้มะค่า ไม้แดง ไม้ยาง เป็นต้น
3. การเลี้ยงสัตว์ สัตว์ที่เลี้ยงไว้ใช้แรงงาน ได้แก่ โค กระบือ ช้าง ม้า เป็นต้น สัตว์บางชนิดเลี้ยงไว้ใช้งานและเป็นอาหาร แต่บางชนิดเลี้ยงไว้เป็น อาหารอย่างเดียว เช่น สุกร ไก่ เป็ด แกะ เป็นต้น
4. การประมง แหล่งประมงที่สำคัญได้แก่ บริเวณอ่าวไทย อ่าวเบงกอล ทะเลอันดามัน ประเทศที่ทำการประมงมาก ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย นอกจากนั้น ยังมีการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเลี้ยงในบ่อในนา ได้แก่ การทำนากุ้ง การเลี้ยงหอย และการเลี้ยงปลา
5. การทำเหมืองแร่ แร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ ดีบุก น้ำมัน เหล็ก ทองแดง ทังสเตน เป็นต้น มีมากในมาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สำหรับน้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติ พบมากที่เกาะบอร์เนียว ( บรูไน ) ชวา สุมาตรา ในอินโดนีเซีย
6. การทำอุตสาหกรรม จะเป็นการผลิตอุตสาหกรรมขนาดเล็ก อุตสาหกรรมครัวเรือนมากกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และในปัจจุบันรัฐบาล ประเทศต่างๆในภูมิภาคนี้ ได้ส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมากขึ้น
7. การพาณิชยกรรม สินค้าที่ส่งไปขายยังตลาดโลก จะเป็นสินค้าประเภทวัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูป ผลิตผลทางการเกษตร สินค้าหัตถกรรม และแร่ธาตุต่างๆ สินค้าเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สินค้าประเภทเคมีภัณฑ์ เครื่องจักรกล รถยนต์ เครื่องทุนแรงต่างๆ และยารักษาโรค
8. การคมนาคมขนส่ง มีทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ขึ้นอยู่กับทำเลที่ตั้งของแต่ละภูมิภาค ปัจจุบันมีการสร้างถนนและทางรถไฟเพื่อเชื่อม การคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศ การคมนาคมทางอากาศมีสายการบินระดับภูมิภาคและระดับโลกผ่านทุกประเทศ
สภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม
1. ลักษณะสำคัญของประชากร ประชากรในภูมิภาคนี้มีหลายเผ่า ได้แก่
- ออสตราลอยด์ มีรูปร่างเตี้ย จมูกกว้าง ศรีษะยาว ผมหยิก เป็นชนพื้นเมืองเดิมในออสเตรเลีย
- เมลานิซอยด์ รูปร่างสันทัด ผิวดำ กะโหลกศรีษะยาวและแคบ ผมหยิกเป็นฝอย อาศัยอยู่ตามหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
- เนกริโต ผิวดำ ผมหยิก ตัวเล็ก เป็นบรรพบุรุษดั้งเดิมของชนเผ่าบางพวกที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน เช่น พวกเงาะ เซมัง อาศัยอยยู่ในประเทศ มาเลเซีย และภาคใต้ของไทย
2. ลักษณะสำคัญทางภาษา ภาษาพูดแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษามาลาโย-โพลีนีเซียน ภาษาออสโทร-เอเซียติก ภาษาทิเบโต-ไชนิส และภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาจีน ภาษาอาหรับ ภาษาของชาติตะวันตก เป็นต้น
3. ศาสนาที่สำคัญ
- ศาสนาพุทธ นับถือมากใน ประเทศไทย ลาว พม่า เวียดนาม กัมพูชา
- ศาสนาอิสลาม นับถือมากในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน
- ศาสนาคริสต์ นับถือมากในประเทศฟิลิปปินส์
สำหรับประเทศ สิงคโปร์ และติมอร์ตะวันออก จะมีความหลากหลายในการนับถือศาสนา
สภาพแวดล้อมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
1. ทำเลที่ตั้ง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ในบริเวณละติจูดที่ 10 องศาใต้ ถึง ละติจูดที่ 28 องศาเหนือ และลองติจูดที่ 92 องศาตะวันออก ถึง 140 องศาตะวัน ออก เป็นภูมิภาคที่ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศที่อยู่ในภูมิภาคนี้ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และติมอร์ตะวันออก
2. ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ( ตะวันตก ) และส่วนที่เป็นเกาะ ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย ( ตะวันออก ) และ ติมอร์ตะวันออก
หมายเหตุ ประเทศมาเลเซียแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1. ลักษณะภูมิประเทศส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ มีเทือกเขาสำคัญ ได้แก่ เทือกเขาอาระกันโยมา อยู่ทางทิศตะวันตกของพม่า และเทือกเขาเปกุโยมา ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขาอาระกันโยมา เทือกเขาตะนาวศรีกั้นพรมแดนระหว่างไทยกับพม่า นอกจากนี้ยังมีเทือกเขาดงพญาเย็น เทือกเขาแดนลาว และเทือกเขาอันนัมในเวียดนาม
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำที่สำคัญ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวิน ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง
2. ลักษณะภูมิประเทศส่วนที่เป็นเกาะหรือหมู่เกาะ เป็นบริเวณที่มี๓เขาไฟเป็นจำนวนมากทั้งที่ดับแล้วและยังคุกกรุ่นอยู่ โดยเฉพาะในอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
เศรษฐกิจ
อาชีพสำคัญของประชากร
1. เกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ เขตภูเขาไฟ เพราะมีดินที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุและเป็น ประโยชน์แก่พืช พืชที่ปลูกได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว เครื่องเทศ ผักผลไม้ เป็นต้น
2. การทำป่าไม้ ในภูมิภาคนี้มีพันธุ์ไม้นานาชนิด ในบริเวณเขตร้อนชื้น ฝนตกชุก จะเป็นเขตป่าทึบ มีต้นไม้ลำต้นสูงใหญ่ ได้แก่ เขตป่าไม้ ้ภาคใต้ของไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในเขตป่าโปร่งจะมีต้นไม้ผลัดใบและไม่ผลัดใบ ได้แก่ ป่าไม้ในไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา และพม่า ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ เช่น ไม้สัก ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้มะค่า ไม้แดง ไม้ยาง เป็นต้น
3. การเลี้ยงสัตว์ สัตว์ที่เลี้ยงไว้ใช้แรงงาน ได้แก่ โค กระบือ ช้าง ม้า เป็นต้น สัตว์บางชนิดเลี้ยงไว้ใช้งานและเป็นอาหาร แต่บางชนิดเลี้ยงไว้เป็น อาหารอย่างเดียว เช่น สุกร ไก่ เป็ด แกะ เป็นต้น
4. การประมง แหล่งประมงที่สำคัญได้แก่ บริเวณอ่าวไทย อ่าวเบงกอล ทะเลอันดามัน ประเทศที่ทำการประมงมาก ได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย นอกจากนั้น ยังมีการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเลี้ยงในบ่อในนา ได้แก่ การทำนากุ้ง การเลี้ยงหอย และการเลี้ยงปลา
5. การทำเหมืองแร่ แร่ธาตุที่สำคัญ ได้แก่ ดีบุก น้ำมัน เหล็ก ทองแดง ทังสเตน เป็นต้น มีมากในมาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย สำหรับน้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติ พบมากที่เกาะบอร์เนียว ( บรูไน ) ชวา สุมาตรา ในอินโดนีเซีย
6. การทำอุตสาหกรรม จะเป็นการผลิตอุตสาหกรรมขนาดเล็ก อุตสาหกรรมครัวเรือนมากกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และในปัจจุบันรัฐบาล ประเทศต่างๆในภูมิภาคนี้ ได้ส่งเสริมอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมากขึ้น
7. การพาณิชยกรรม สินค้าที่ส่งไปขายยังตลาดโลก จะเป็นสินค้าประเภทวัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูป ผลิตผลทางการเกษตร สินค้าหัตถกรรม และแร่ธาตุต่างๆ สินค้าเข้าที่สำคัญ ได้แก่ สินค้าประเภทเคมีภัณฑ์ เครื่องจักรกล รถยนต์ เครื่องทุนแรงต่างๆ และยารักษาโรค
8. การคมนาคมขนส่ง มีทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ขึ้นอยู่กับทำเลที่ตั้งของแต่ละภูมิภาค ปัจจุบันมีการสร้างถนนและทางรถไฟเพื่อเชื่อม การคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศ การคมนาคมทางอากาศมีสายการบินระดับภูมิภาคและระดับโลกผ่านทุกประเทศ
สภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม
1. ลักษณะสำคัญของประชากร ประชากรในภูมิภาคนี้มีหลายเผ่า ได้แก่
- ออสตราลอยด์ มีรูปร่างเตี้ย จมูกกว้าง ศรีษะยาว ผมหยิก เป็นชนพื้นเมืองเดิมในออสเตรเลีย
- เมลานิซอยด์ รูปร่างสันทัด ผิวดำ กะโหลกศรีษะยาวและแคบ ผมหยิกเป็นฝอย อาศัยอยู่ตามหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
- เนกริโต ผิวดำ ผมหยิก ตัวเล็ก เป็นบรรพบุรุษดั้งเดิมของชนเผ่าบางพวกที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน เช่น พวกเงาะ เซมัง อาศัยอยยู่ในประเทศ มาเลเซีย และภาคใต้ของไทย
2. ลักษณะสำคัญทางภาษา ภาษาพูดแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษามาลาโย-โพลีนีเซียน ภาษาออสโทร-เอเซียติก ภาษาทิเบโต-ไชนิส และภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาจีน ภาษาอาหรับ ภาษาของชาติตะวันตก เป็นต้น
3. ศาสนาที่สำคัญ
- ศาสนาพุทธ นับถือมากใน ประเทศไทย ลาว พม่า เวียดนาม กัมพูชา
- ศาสนาอิสลาม นับถือมากในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน
- ศาสนาคริสต์ นับถือมากในประเทศฟิลิปปินส์
สำหรับประเทศ สิงคโปร์ และติมอร์ตะวันออก จะมีความหลากหลายในการนับถือศาสนา
ประชากรและคุณภาพชีวิต
ประชากรเป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาประเทศ ดังนั้นการมีจำนวนประชากรและการกระจายตัวของประชากรที่ได้สัดส่วนเหมาะสมกับทรัพยากร ธรรมชาติรวมทั้งการมีประชากรที่มีคุณภาพจึงเป็นความปรารถนาสูงสุดของทุกประเทศ ส่วนประเทศไทยมีลักษณะของประชากรและคุณภาพของประชากรดังนี้
1. จำนวนประชากร ประชากร หมายถึง ผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศโดยมีสัญชาติของประเทศนั้นอย่างถูกต้องตามกฏหมาย ตลอดจนบุคคลต่างด้าวซึ่งได้รับ อนุญาตให้อาศัยอยู่ในประเทศนั้น ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรประมาณ 62 ล้านคน จังหวัดที่มีประชากรมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดที่มีประชากร น้อยที่สุด คือ ระนอง
2. แนวโน้มจำนวนประชากรในประเทศไทย ประเทศไทยเคยได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่ มีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2490 - 2504 ประชากรมีอัตราเพิ่มขึ้นโดยประมาณเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 3.2 แต่หลังจากรัฐบาลรณรงค์ในเรื่องการวางแผนครอบครัวอย่างจริงจัง ใน พ.ศ. 2538 ประชากรได้ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 0.6
3. องค์ประกอบของประชากร ลักษณะประชากรจำแนกเป็น องค์ประกอบย่อย ๆ คือ
- อายุ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ วัยเด็ก ( 1 - 14 ) วัยทำงาน ( 15 - 65 ) และวัยชรา ( 65 ปีขึ้นไป ) เดิมสัดส่วนอายุประชากรเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว คือ มีวัยเด็กเป็นฐานกว้างแล้วเรียวเล็กขึ้นไปสู่ยอด ซึ่งเป็นวัยทำงานและวัยชรา แต่ปัจจุบันประชากรในวัยทำงานมีจำนวนมากกว่าประชากรวัยภาระพึ่งพิง จึงทำให้สัดส่วนประชากรไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงไป ถ้าสัดส่วนของประชากรวัยหนุ่มสาวหรือวัยทำงานเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าวัยอื่น ๆ ย่อมได้เปรียบในเชิงเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมมากกว่าประเทศหรือสังคมที่มีประชากรในวัยภาระเลี้ยงดูจำนวน มาก ๆ
- เพศ สัดส่วนของเพศของประชากรชายหญิงของไทยไม่แตกต่างกันมากนัก คือมี จำนวนพอ ๆ กัน โดยมีเพศหญิงมากกว่าเล็กน้อย
- เชื้อชาติ ประชากรส่วนใหญ่มีเชื้อชาติไทย ( 90 % ) มีเชื้อชาติอื่นบ้างเล็กน้อย เช่น จีน หรือพวกชาวเขา
- ศาสนา ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 95 นับถือพระพุทธศาสนา รองลงมาคือ ศาสนาอิสลามร้อยละ 4 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 0.5ประเทศไทยไม่เคยมี ปัญหา ความแตกแยกของประชากรอันเนื่องมาจากความแตกต่างในเรื่องศาสนา
- ภาษา ประชากรไทยส่วนใหญ่พูดภาษาเดียวกัน คือ ภาษาไทย แต่ถ้าอยู่ในท้องถิ่นของตนเองภาษาอาจจะพื้นไปบ้าง เช่น ภาษาถิ่นภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ เป็นต้น ภาษาพื้นเมืองที่แตกต่างไปจากภาษาไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาษามาเลย์หรือยาวี
ประชากรเป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาประเทศ ดังนั้นการมีจำนวนประชากรและการกระจายตัวของประชากรที่ได้สัดส่วนเหมาะสมกับทรัพยากร ธรรมชาติรวมทั้งการมีประชากรที่มีคุณภาพจึงเป็นความปรารถนาสูงสุดของทุกประเทศ ส่วนประเทศไทยมีลักษณะของประชากรและคุณภาพของประชากรดังนี้
1. จำนวนประชากร ประชากร หมายถึง ผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศโดยมีสัญชาติของประเทศนั้นอย่างถูกต้องตามกฏหมาย ตลอดจนบุคคลต่างด้าวซึ่งได้รับ อนุญาตให้อาศัยอยู่ในประเทศนั้น ปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรประมาณ 62 ล้านคน จังหวัดที่มีประชากรมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดที่มีประชากร น้อยที่สุด คือ ระนอง
2. แนวโน้มจำนวนประชากรในประเทศไทย ประเทศไทยเคยได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่ มีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2490 - 2504 ประชากรมีอัตราเพิ่มขึ้นโดยประมาณเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 3.2 แต่หลังจากรัฐบาลรณรงค์ในเรื่องการวางแผนครอบครัวอย่างจริงจัง ใน พ.ศ. 2538 ประชากรได้ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 0.6
3. องค์ประกอบของประชากร ลักษณะประชากรจำแนกเป็น องค์ประกอบย่อย ๆ คือ
- อายุ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ วัยเด็ก ( 1 - 14 ) วัยทำงาน ( 15 - 65 ) และวัยชรา ( 65 ปีขึ้นไป ) เดิมสัดส่วนอายุประชากรเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว คือ มีวัยเด็กเป็นฐานกว้างแล้วเรียวเล็กขึ้นไปสู่ยอด ซึ่งเป็นวัยทำงานและวัยชรา แต่ปัจจุบันประชากรในวัยทำงานมีจำนวนมากกว่าประชากรวัยภาระพึ่งพิง จึงทำให้สัดส่วนประชากรไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงไป ถ้าสัดส่วนของประชากรวัยหนุ่มสาวหรือวัยทำงานเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าวัยอื่น ๆ ย่อมได้เปรียบในเชิงเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมมากกว่าประเทศหรือสังคมที่มีประชากรในวัยภาระเลี้ยงดูจำนวน มาก ๆ
- เพศ สัดส่วนของเพศของประชากรชายหญิงของไทยไม่แตกต่างกันมากนัก คือมี จำนวนพอ ๆ กัน โดยมีเพศหญิงมากกว่าเล็กน้อย
- เชื้อชาติ ประชากรส่วนใหญ่มีเชื้อชาติไทย ( 90 % ) มีเชื้อชาติอื่นบ้างเล็กน้อย เช่น จีน หรือพวกชาวเขา
- ศาสนา ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 95 นับถือพระพุทธศาสนา รองลงมาคือ ศาสนาอิสลามร้อยละ 4 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 0.5ประเทศไทยไม่เคยมี ปัญหา ความแตกแยกของประชากรอันเนื่องมาจากความแตกต่างในเรื่องศาสนา
- ภาษา ประชากรไทยส่วนใหญ่พูดภาษาเดียวกัน คือ ภาษาไทย แต่ถ้าอยู่ในท้องถิ่นของตนเองภาษาอาจจะพื้นไปบ้าง เช่น ภาษาถิ่นภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ เป็นต้น ภาษาพื้นเมืองที่แตกต่างไปจากภาษาไทยที่สำคัญ ได้แก่ ภาษามาเลย์หรือยาวี
ภูมิประเทศของไทย
วันนี้ครูจะพานักเรียนมาทำความเข้าใจ ภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศของไทย....
ประเทศไทยตั้งอยู่ในแหลมอินโดจีน การที่เรียกว่าแหลมอินโดจีน เพราะถือว่าอยู่ระหว่างประเทศอินเดีย กับประเทศจีน ซึ่งเป็นการถือเอาประเทศใหญ่เป็นจุดอ้าง แต่ถ้าถือเอาสภาพทางภูมิศาสตร์ เป็นจุดอ้างก็น่าจะเรียกว่า อินโด - แปซิฟิค เพราะเป็นแหลมที่แบ่งน่านน้ำออกเป็นมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ ดังนี้ ทิศเหนือ จดเส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๒๕ ลิบดา ๓๐ พิลิบดา เหนือ ที่กิ่งอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ทิศใต้ จดเส้นรุ้ง ๕ องศา ๓๗ ลิบดา ที่กิ่งอำเภอเบตง จังหวัดยะลา ทิศตะวันออก จดเส้นแวง ๑๐๕ องศา ๓๗ ลิบดา ๓๐ พิลิบดา ที่อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก จดเส้นแวง ๙๗ องศา ๒๒ ลิบดา ตะวันออก ที่อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน สภาพธรรมชาติในเขตร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบตะวันออก - ใต้ของทวีปเอเซีย มีอุณหภูมิสูง มีทะเลลมและฝนเป็นปัจจัยให้เกิดป่าดง ประกอบไปด้วยพันธุ์ไม้เขตร้อน และสัตว์ป่านานาชนิด ที่มีปริมาณมากกว่าอีกหลายส่วนของโลก นับว่าเป็นย่านอันอุดมสมบูรณ์ด้วยอาหาร และทรัพยากรที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปเอเซีย การที่เส้นแวง ๑๐๑ องศา ตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นผ่านกลางพื้นที่ประเทศไทย การคิดเวลาของประเทศไทย จึงควรใช้เส้นแวงเส้นนี้เป็นตัวกำหนด แต่เนื่องจากว่าเพื่อให้สะดวกในกิจการรถไฟ ซึ่งเชื่อมต่อไปยังแหลมมลายู ได้มีเวลาตรงกันทั้งไทย และมลายู (มาเลเซีย) ไทยจึงตกลงใช้เส้นแวง ๑๐๕ องศาตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นศูนย์เที่ยงทางภูมิศาสตร์ของมลายู และเป็นเส้นศูนย์เที่ยงของอินโดจีนด้วย เป็นเส้นศูนย์เที่ยงของไทยด้วย จึงทำให้เวลาที่แท้จริงของไทยเร็วไป ๑๘ นาทีของที่ควรจะเป็น
ภูมิรัฐศาสตร์ ประเทศไทยตั้งอยู่ใจกลางของผืนแผ่นดินในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีพรมแดนธรรมชาติที่เหมาะสมในแง่ภูมิศาสตร์ โดยมีเทือกเขาขนาดใหญ่ และทุรกันดารทอดตัวเป็นแนวยาวจากเหนือมาใต้ ดังนี้ ด้านทิศตะวันตก มีเทือกเขาอารกันโยมา อันเป็นสาขาของเทือกเขาหิมาลัย ทำให้เกิดป่าดงดิบทึบ เป็นการแยกประเทศพม่าออกจากประเทศอินเดียโดยสิ้นเชิง ไม่มีปัญหาเรื่องการมีสายน้ำร่วมกัน ในสงครามมหาเอเซียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้รุกไปทางตะวันตกผ่านไทย ผ่านพม่า มุ่งสู่อินเดียก็มาสิ้นสุดที่แนวเทือกเขาแห่งนี้เท่านั้น ด้านทิศเหนือ เป็นเทือกเขาขนาดใหญ่บนที่ราบสูง ยูนนานของประเทศจีนตอนใต้ เป็นสาขาปลายตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย ที่ผ่านไปสู่ประเทศจีน เป็นย่านทุรกันดารเป็นป่าเขายากแก่การคมนาคมทางบก ด้านทิศตะวันออก เป็นทะเลจีนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิค อันเป็นพรมแดนทางธรรมชาติอย่างแท้จริงในทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้านทิศใต้ เป็นทะเลในด้านอ่าวไทย และมหาสมุทรอินเดีย จึงมีสภาพพรมแดนทางธรรมชาติ เช่นเดียวกับด้านทิศตะวันออก ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ ดังกล่าวมาแล้วทำให้ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ อันประกอบด้วย พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา และมาเลเซีย มีปราการทางธรรมชาติ ที่เกื้อกูลต่อความปลอดภัยร่วมกันได้เป็นอย่างดี
ขนาดของประเทศไทย
ภูมิรัฐศาสตร์ ประเทศไทยตั้งอยู่ใจกลางของผืนแผ่นดินในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีพรมแดนธรรมชาติที่เหมาะสมในแง่ภูมิศาสตร์ โดยมีเทือกเขาขนาดใหญ่ และทุรกันดารทอดตัวเป็นแนวยาวจากเหนือมาใต้ ดังนี้ ด้านทิศตะวันตก มีเทือกเขาอารกันโยมา อันเป็นสาขาของเทือกเขาหิมาลัย ทำให้เกิดป่าดงดิบทึบ เป็นการแยกประเทศพม่าออกจากประเทศอินเดียโดยสิ้นเชิง ไม่มีปัญหาเรื่องการมีสายน้ำร่วมกัน ในสงครามมหาเอเซียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้รุกไปทางตะวันตกผ่านไทย ผ่านพม่า มุ่งสู่อินเดียก็มาสิ้นสุดที่แนวเทือกเขาแห่งนี้เท่านั้น ด้านทิศเหนือ เป็นเทือกเขาขนาดใหญ่บนที่ราบสูง ยูนนานของประเทศจีนตอนใต้ เป็นสาขาปลายตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย ที่ผ่านไปสู่ประเทศจีน เป็นย่านทุรกันดารเป็นป่าเขายากแก่การคมนาคมทางบก ด้านทิศตะวันออก เป็นทะเลจีนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิค อันเป็นพรมแดนทางธรรมชาติอย่างแท้จริงในทางภูมิรัฐศาสตร์ ด้านทิศใต้ เป็นทะเลในด้านอ่าวไทย และมหาสมุทรอินเดีย จึงมีสภาพพรมแดนทางธรรมชาติ เช่นเดียวกับด้านทิศตะวันออก ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ ดังกล่าวมาแล้วทำให้ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ อันประกอบด้วย พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา และมาเลเซีย มีปราการทางธรรมชาติ ที่เกื้อกูลต่อความปลอดภัยร่วมกันได้เป็นอย่างดี
ขนาดของประเทศไทย
จากหลักฐานของกรมแผนที่ทหาร ประเทศไทยมีพื้นที่ ประมาณ ๕๑๑,๙๓๗ ตารางกิโลเมตร ตัวเลขนี้เป็นตัวเลขที่เป็นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๓ จนถึงปัจจุบัน ในระหว่างกรณีพิพาทอินโดจีน ประเทศไทยได้พื้นที่เดิมที่เสียให้แก่ฝรั่งเศส ในพื้นที่สี่จังหวัดทางภาคตะวันออกของไทย คือ จังหวัดพระตะบอง (เขมร) เสียมราฐ (เขมร) นครจำปาศักดิ์ (ลาว) ล้านช้าง (ลาว) เป็นพื้นที่ประมาณ ๖๙,๐๒๙ ตารางกิโลเมตร และในสงครามมหาเอเซียบูรพา ประเทศไทยได้รับดินแดนคืนจากที่เสียให้แก่อังกฤษ คือ สหรัฐไทยเดิม เป็นพื้นที่ประมาณ ๓๙,๘๕๕ ตารางกิโลเมตร และ ๔ รัฐมาลัย คือ รัฐกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี (เคดาร์) และปะลิส เป็นพื้นที่ประมาณ ๓๓,๒๔๕ ตารางกิโลเมตร เมื่อสงครามมหาเอเซียบูรพายุติลง ไทยจำต้องคืนดินแดนที่ได้กลับคืนมา คืนกลับไปให้ฝรั่งเศส และอังกฤษไป เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ ที่มีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทยแล้ว จะได้ดังนี้ - เล็กกว่า ประเทศพม่าอยู่ ๖๑,๔๖๑ ตารางไมล์ - เล็กกว่า ประเทศอินเดีย ๗ เท่า - เล็กกว่า ประเทศจีน ๑๐ เท่า - เล็กกว่า ประเทศตุรกี ๑/๓ เท่า - เล็กกว่า ประเทศฝรั่งเศสเล็กน้อย - เล็กกว่า ประเทศสหรัฐอเมริกา ๑๓ เท่า |
ส่วนบน มีรูปร่างค่อนข้างจะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ที่มีความเว้าแหว่งอยู่มาก ห้องภูมิประเทศที่เกิดจากแนวเทือกเขา ที่ทอดตัวจากเหนือไปใต้ ทำให้เกิดส่วนแคบขึ้นสองแนวคือ แนวจังหวัดตาก - อุตรดิตถ์ และแนวอำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว - อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
ส่วนล่าง มีรูปร่างแคบและยาวมาก มีทะเลขนาบอยู่สองด้าน
พรมแดนไทย พรมแดนของไทยที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน กำหนดขึ้นด้วยสัญญาระหว่างประเทศ กับประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศส ในสมัยที่ประเทศทั้งสองมีอาณานิคมอยู่ติดกับประเทศไทยในทุกด้าน ดังนี้ - สนธิสัญญา ปี พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๓๖ ระหว่างไทยกับอังกฤษ กำหนดพรมแดนไทยกับพม่า - สนธิสัญญา เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๔๗๓ (ร.ศ.๑๑๖) ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส - สนธิสัญญา เมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๔๔๕ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส - สนธิสัญญา เมื่อ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๔๗ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส - สนธิสัญญา เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ระหว่างไทยกับอังกฤษ พรมแดนไทยกับพม่า เริ่มต้นจากจังหวัดระนอง ที่ลำน้ำกระ (เส้นรุ้ง ๑๐ ลิบดา เหนือ) เป็นแนวเส้นเขตแดนต่อไปทางเหนือ ตามแนวสันเขาตะนาวศรี สันเขาถนนธงชัย สันเขาแดนลาว ไปจดแม่น้ำโขง ที่จุดเส้นรุ้ง ๒๕ องศา ๕ ลิบดา เหนือ ที่กิ่งอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แนวพรมแดนด้านนี้ยาว ประมาณ ๑,๔๕๐ กิโลเมตร ไม่สู้คดโค้งมากนัก ส่วนใหญ่เป็นทิวเขาสูงใหญ่ พรมแดนไทยกับลาว เริ่มจากบ้านใหม่ (เส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๑๕ ลิบดา เหนือ) มีลำน้ำโขงเป็นแนวเส้นเขตแดน แล้ววกเขาหาทิวเขาหลวงพระบาง ลงมาทางใต้ แล้ววกไปหาแม่น้ำโขงไปจนจดปากน้ำมูล จังหวัดอุบลราชธานี ช่วงนี้ยาวประมาณ ๑,๒๐๐ กิโลเมตร พรมแดนไทยกับกัมพูชา เริ่มจากปากแม่น้ำมูล แนวพรมแดนเป็นสันเขาพนมดงรัก ซึ่งโค้งมาทางตะวันตก จนถึงจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นระยะทาง ประมาณ ๓๒๐ กิโลเมตร จากนั้นแนวเส้นเขตแดนจะเป็นที่ราบจนจดทะเลที่อ่าวไทย พรมแดนไทยกับมาเลเซีย เริ่มที่ลำน้ำนราธิวาสทางอ่าวไทยไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เล็กน้อย แล้วใช้สันเขาสันกาลาคีรี เป็นแนวเขตแดนไปจนจดมหาสมุทรอินเดีย ที่จังหวัดสตูล นอกจากนี้ไทยยังมีพรมแดนที่เป็นฝั่งทะเล คือ - ด้านอ่าวไทย จากจังหวัดตราด ถึง นราธิวาส มีความยาวประมาณ ๑,๘๗๐ กิโลเมตร และด้านมหาสมุทรอินเดีย จากจังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูล ยาวประมาณ ๗๔๐ กิโลเมตร
พรมแดนไทย พรมแดนของไทยที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน กำหนดขึ้นด้วยสัญญาระหว่างประเทศ กับประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศส ในสมัยที่ประเทศทั้งสองมีอาณานิคมอยู่ติดกับประเทศไทยในทุกด้าน ดังนี้ - สนธิสัญญา ปี พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๓๖ ระหว่างไทยกับอังกฤษ กำหนดพรมแดนไทยกับพม่า - สนธิสัญญา เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๔๗๓ (ร.ศ.๑๑๖) ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส - สนธิสัญญา เมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๔๔๕ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส - สนธิสัญญา เมื่อ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๔๗ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส - สนธิสัญญา เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ระหว่างไทยกับอังกฤษ พรมแดนไทยกับพม่า เริ่มต้นจากจังหวัดระนอง ที่ลำน้ำกระ (เส้นรุ้ง ๑๐ ลิบดา เหนือ) เป็นแนวเส้นเขตแดนต่อไปทางเหนือ ตามแนวสันเขาตะนาวศรี สันเขาถนนธงชัย สันเขาแดนลาว ไปจดแม่น้ำโขง ที่จุดเส้นรุ้ง ๒๕ องศา ๕ ลิบดา เหนือ ที่กิ่งอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แนวพรมแดนด้านนี้ยาว ประมาณ ๑,๔๕๐ กิโลเมตร ไม่สู้คดโค้งมากนัก ส่วนใหญ่เป็นทิวเขาสูงใหญ่ พรมแดนไทยกับลาว เริ่มจากบ้านใหม่ (เส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๑๕ ลิบดา เหนือ) มีลำน้ำโขงเป็นแนวเส้นเขตแดน แล้ววกเขาหาทิวเขาหลวงพระบาง ลงมาทางใต้ แล้ววกไปหาแม่น้ำโขงไปจนจดปากน้ำมูล จังหวัดอุบลราชธานี ช่วงนี้ยาวประมาณ ๑,๒๐๐ กิโลเมตร พรมแดนไทยกับกัมพูชา เริ่มจากปากแม่น้ำมูล แนวพรมแดนเป็นสันเขาพนมดงรัก ซึ่งโค้งมาทางตะวันตก จนถึงจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นระยะทาง ประมาณ ๓๒๐ กิโลเมตร จากนั้นแนวเส้นเขตแดนจะเป็นที่ราบจนจดทะเลที่อ่าวไทย พรมแดนไทยกับมาเลเซีย เริ่มที่ลำน้ำนราธิวาสทางอ่าวไทยไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เล็กน้อย แล้วใช้สันเขาสันกาลาคีรี เป็นแนวเขตแดนไปจนจดมหาสมุทรอินเดีย ที่จังหวัดสตูล นอกจากนี้ไทยยังมีพรมแดนที่เป็นฝั่งทะเล คือ - ด้านอ่าวไทย จากจังหวัดตราด ถึง นราธิวาส มีความยาวประมาณ ๑,๘๗๐ กิโลเมตร และด้านมหาสมุทรอินเดีย จากจังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูล ยาวประมาณ ๗๔๐ กิโลเมตร
ที่มา : hxxp://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/geography/geo.htm
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)