นักเรียนหลายคนคงไม่มีใครอยากทำข้อสอบแบบ
ส่งๆขอไปทีหรอก คะแนนเราทั้งทีอยากได้เกรด 4 แต่ทำข้อสอบไม่ได้จริงๆ
พี่เข้าใจ วันนี้ทีนเอ็มไทยก็เลยจะมาบอก?8 วิธีมั่วข้อสอบให้ได้คะแนนบ้าง ! (ไม่ได้เต็มร้อย แต่ได้คะแนนบ้างก็ยังดี ) ใช่ไหมคะเพื่อนๆ
ขอบคุณข้อมูล?http://www.dek-d.com/board/view/3111401
8 วิธีมั่วข้อสอบให้ได้คะแนนบ้าง
0.การตัดช็อยส์
เป็นขั้นพื้นฐานที่สุดของการมั่ว ทุกคนควรทำเป็นนะแจ๊ะ
1.กฏหมู่มาก
“ตัวเลือกย่อยที่ปรากฏบ่อยใน”
เช่น ช็อยส์มี
ก. 1 2 ข.1 3
ค. 1 2 3 ง.2 4
แบบนี้ให้ assume ว่า 1 ถูกเลย เพราะมีจำนวนมากถึง 3/4 เทคนิคนี้ใช้ไม่ได้ทุกครั้ง แต่ก็ได้บ้าง
2.กฏการกระจายตัว
“ในข้อสอบฉบับใดๆ มักจะมีการกระจายช็อยส์ไม่ให้ลงช็อยส์หนึ่งมากเกินไปเพื่อป้องกันนักเรียนดิ่ง”
ดังนั้นถ้าเราทำมา 15/20 ข้อ(อย่างมั่นใจ)แล้วมี ง. น้อย ถ้าจะดิ่งก็ดิ่ง ง. เสีย
3.กฏความขัดแย้ง-สัมพันธ์ของตัวเลือก
“ถ้าช็อยส์2ช็อยส์ใดๆในตัวเลือกมีความขัดแย้งกัน คำตอบจะอยู่ในหนึ่งในสองช็อยส์นั้น”
“ถ้าช็อยส์2ช็อยส์ใดๆในตัวเลือกมีความสัมพันธ์กัน(เหมือนกัน) คำตอบจะอยู่ในสองช็อยส์ที่ไม่ใช่สองช็อยส์นั้น”
4.การเดาใจคนออกข้อสอบ
ในหลายครั้งนั้น ข้อสอบผิด แต่เขาไม่ได้แจกฟรีเสมอ ดังนั้น เราจึงควรเดาใจว่าคนออกต้องการจะสื่ออะไร เพื่อคะแนน!
5.การประมาณช่วงของคำตอบ
ใช้ได้กับวิชาเลข สำหรับคนที่โปรหน่อย ให้เราประมาณช่วงของคำตอบไว้ล่วงหน้า เช่น มันน่าจะอยู่ในช่วง 9-24 แล้วเวลาทำเสร็จ ถ้ามันผิดเราจะรู้ได้
6.การแทนสวนกลับ
อันนี้น่าจะรู้จักดีทุกคน คือเอาช็อยส์แทนค่าสวนกลับไปในโจทย์เลยว่าจริงไหม?แต่บางที เราต้องประมาณค่าก่อนสวน ไม่งั้นมันแก้ไม่หลุด
7.การสมมติค่าตัวแปร
ถ้าโจทย์ให้สมการมีตัวแปรมาเยอะๆ แล้วโจทย์ถาม “ค่า” แล้วช็อยส์ไม่ติดตัวแปร?เราสามารถสมมติตัวแปรอะไรก็ได้ที่สัมพันธ์กับโจทย์ อัดเข้่าไปได้เลย (เพราะคำตอบนี้ต้องเป็นจริงสำหรับทุกช่วงค่าตัวแปร)
8.สัญชาตญาณ
แล้วแต่ของใครของมัน
ขอบคุณข้อมูล?http://www.dek-d.com/board/view/3111401
8 วิธีมั่วข้อสอบให้ได้คะแนนบ้าง
- อ่านคำถามทุกข้อ ข้อไหนทำได้ ให้ทำอย่างรอบคอบ ข้อไหนทำไม่ได้ให้ผ่านไปก่อน
- ย้อนกลับมาพิจารณาข้อที่ไม่ได้ทำ หรือข้ามไปอีกครั้ง
- ค่อยๆ ตัดช้อยส์ที่แน่ใจว่าไม่ใช้คำตอบออกไปทีละข้อ เพื่อเพิ่มเปอร์เซ็นต์ในการมั่วได้ถูกต้อง เช่นตัดช้อยส์ที่ไม่ใช่ออกไป จนเหลือช้อยส์ที่ไม่แน่ใจ2ข้อนั้นแสดงว่า เรามีเปอร์เซ็นต์กาถูก50เปอร์เซ็นต์
- ช้อยส์ที่แย่งกันเอง มักจะมีข้อใดข้อหนึ่งถูก เนื่องจากเวลาคิดช้อยส์ให้นักเรียนตอบ อาจารย์จะคิดคำตอบที่ถูกต้องก่อน แล้วจึงหาคำตอบที่ผิดมาใส่ให้ครบจำนวนข้อซอยส์ ซึ่งวิธีคิดคำตอบที่ผิดที่ง่ายที่สุดก็คือ คิดคำตอบที่ตรงกันข้ามกับคำตอบที่ถูกต้อง
- ช้อยส์ที่เหมือนกันมักจะไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้อง สามารถตัดทิ้งได้เลย เพราะถ้าข้อหนึ่งถูก อีกข้อหนึ่งก็ถูกต้อง
- ช้อยส์ ไม่มีข้อใดถูก มักจะเป็นช้อยส์หลอก เพราะการคิดช้อยส์ให้ผิดยากกว่าคิดช้อยส์ให้ถูก นอกจากอาจารย์ท่านนั้นจะขึ้นชื่อว่าเป็นเทพในการออกข้อสอบ
- ข้อที่อับจนปัญญา ไม่สามารถจะเดาได้ว่าจะเป็นข้อใด ให้กาช้อยส็ที่เรากาน้อยที่สุดของคำตอบ
- ให้ทำข้อสอบให้ครบทุกข้อ แม้ข้อสอบนั้นเราจะยังไม่ได้คำตอบก็ตาม เพราะถ้าไม่ตอบแสดงว่าคะแนนข้อนั้นของเราเท่ากับ 0
0.การตัดช็อยส์
เป็นขั้นพื้นฐานที่สุดของการมั่ว ทุกคนควรทำเป็นนะแจ๊ะ
1.กฏหมู่มาก
“ตัวเลือกย่อยที่ปรากฏบ่อยใน”
เช่น ช็อยส์มี
ก. 1 2 ข.1 3
ค. 1 2 3 ง.2 4
แบบนี้ให้ assume ว่า 1 ถูกเลย เพราะมีจำนวนมากถึง 3/4 เทคนิคนี้ใช้ไม่ได้ทุกครั้ง แต่ก็ได้บ้าง
2.กฏการกระจายตัว
“ในข้อสอบฉบับใดๆ มักจะมีการกระจายช็อยส์ไม่ให้ลงช็อยส์หนึ่งมากเกินไปเพื่อป้องกันนักเรียนดิ่ง”
ดังนั้นถ้าเราทำมา 15/20 ข้อ(อย่างมั่นใจ)แล้วมี ง. น้อย ถ้าจะดิ่งก็ดิ่ง ง. เสีย
3.กฏความขัดแย้ง-สัมพันธ์ของตัวเลือก
“ถ้าช็อยส์2ช็อยส์ใดๆในตัวเลือกมีความขัดแย้งกัน คำตอบจะอยู่ในหนึ่งในสองช็อยส์นั้น”
“ถ้าช็อยส์2ช็อยส์ใดๆในตัวเลือกมีความสัมพันธ์กัน(เหมือนกัน) คำตอบจะอยู่ในสองช็อยส์ที่ไม่ใช่สองช็อยส์นั้น”
4.การเดาใจคนออกข้อสอบ
ในหลายครั้งนั้น ข้อสอบผิด แต่เขาไม่ได้แจกฟรีเสมอ ดังนั้น เราจึงควรเดาใจว่าคนออกต้องการจะสื่ออะไร เพื่อคะแนน!
5.การประมาณช่วงของคำตอบ
ใช้ได้กับวิชาเลข สำหรับคนที่โปรหน่อย ให้เราประมาณช่วงของคำตอบไว้ล่วงหน้า เช่น มันน่าจะอยู่ในช่วง 9-24 แล้วเวลาทำเสร็จ ถ้ามันผิดเราจะรู้ได้
6.การแทนสวนกลับ
อันนี้น่าจะรู้จักดีทุกคน คือเอาช็อยส์แทนค่าสวนกลับไปในโจทย์เลยว่าจริงไหม?แต่บางที เราต้องประมาณค่าก่อนสวน ไม่งั้นมันแก้ไม่หลุด
7.การสมมติค่าตัวแปร
ถ้าโจทย์ให้สมการมีตัวแปรมาเยอะๆ แล้วโจทย์ถาม “ค่า” แล้วช็อยส์ไม่ติดตัวแปร?เราสามารถสมมติตัวแปรอะไรก็ได้ที่สัมพันธ์กับโจทย์ อัดเข้่าไปได้เลย (เพราะคำตอบนี้ต้องเป็นจริงสำหรับทุกช่วงค่าตัวแปร)
8.สัญชาตญาณ
แล้วแต่ของใครของมัน
ขอให้โชคดีกันทุกคน
ที่มา: http://teen.mthai.com/education/65700.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น